ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทอยเส้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 3 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
Kobbaka (คุย | ส่วนร่วม)
สะกดผิด
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''ทอยเส้น''' เป็นการละเล่นสนุกของเด็กๆ หลายจังหวัด สมัยก่อนราวๆ ยุคปี [tel:2510-2530 2510-2530] โดย เด็กๆ ยืนเรียงหลังแนวเส้นหนึ่ง แล้วทอย'''[[ตุ๊กตุ่น]]''' ออกไปให้คาบแนวเส้น อีกเส้นหนึ่ง หรือใครใกล้แนวเส้นที่สุดชนะ
 
ช่วงยุคนั้น พึ่งเริ่มมีการแพร่ภาพทางโทรทัศน์ แบบขาวดำ มีการนำเข้า รายการทีวีจากต่างประเทศ รวมถึงนำรายการแนวฮีโร่ของญี่ปุ่น (ทั้งแบบที่เป็นการ์ตูนแอนิเมชัน และแบบคนแสดง) เข้ามาฉาย โดยเฉพาะ[[มดแดงอาละวาด]]" เมื่อปีพ.ศ. 2514 ทางช่อง 7 ขาวดำ (หรือช่อง 5 ปัจจุบัน) มีพ่อค้าไทยผลิต[[ตุ๊กตุ่น]]ตุ๊กตาเต็มตัวขนาดจิ๋ว โดยจำลองแบบมาจากฮีโร่ที่เห็นในทีวี วางจำหน่ายอย่างแพร่หลาย ทั้งแบบที่ขายเป็น[[ตุ๊กตุ่น]]ตัวเดี่ยวๆ โดยเฉพาะ หรือแถมพ่วงในซองขนมขบเคี้ยว (ผู้ใหญ่ยุคนั้นนิยมให้ฉายาว่า '''ขนมหลอกเด็ก''' เพราะไม่ค่อยมีคุณค่าทางสารอาหาร แต่เน้นสิ่งของล่อใจเด็กที่แถมอยู่ภายใน)
บรรทัด 36:
การเล่นทอยเส้น เริ่มไม่ได้รับความนิยม เมื่อเด็กเติบโตขึ้น และมีการเปลี่ยนไปใช้เงินเหรียญ ในการเล่น และกินเดิมพันเงิน ซึ่งค่อนข้างโน้มเอียงไปทางการพนันมากกว่าจะเป็นการเล่นสนุกของเด็กๆ อีกทั้งเรื่องของลิขสิทธิ์ และของเล่นนำเข้าจาก ฮ่องกง ญี่ปุ่น ซึ่งมีพัฒนาการด้านคุณภาพการผลิต ความสวยงามสมจริง มากกว่าตุ๊กตุ่นของที่ทำในไทย
 
[[ตุ๊กตุ่น]] สมัยก่อน ที่เป็นที่นิยม และพูดถึงในหมู่นักสะสม มาจนถึงทุกวันนี้ มักเป็นยี่ห้อ ANT คือจะมีตราโลโก้รูปมด และ/หรือตัวอักษรภาษาอังกฤษ สลักอยู่ที่ด้านหลังของตัวตุ๊กตุ่น มักจะเรียกเหมารวมว่า ""ตุ๊กตุ่นแอ๊นท์"" หรือ ""ตุ๊กตุ่นตราแอ๊นท์"" ตุ๊กตุ่นทั้งหมดในยุคนั้นแกะสลักทำแม่พิมพ์โดยคนไทย ผลิตในประเทศไทย มีทั้งที่แกะสลักสัญญลักษณ์ รูปมด และคำว่า ANT, หัวเท้า, วัว GS, TUY, ขวาน ฯลฯ บางตัวก็ไม่มีสัญญลักษณ์กำกับ เนื่องจากเป็นงานที่ไทยประดิษฐ์ และไม่ได้ลิขสิทธิ์ จึงไม่มีภาพต้นแบบที่ถูกต้องสมบุรณ์สมบูรณ์ ช่างแกะแม่พิมพ์จะสังเกตจดจำจากทีวี หรือดูภาพนิ่งตามในนิตยสาร ผสมกับจินตนาการส่วนตัว แล้ววาดลงบนกระดาษ ทั้งด้านหน้า-หลังของตัวตุ๊กตุ่น ตามขนาดที่จะผลิตจริง จัดท่าทางกางแขนขาหลากแบบแตกต่างกันไป
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==