ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาตราริกเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.2
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.2
บรรทัด 3:
ปัจจุบันมาตราริกเตอร์ถูกแทนที่ด้วย'''[[มาตราขนาดโมเมนต์]]''' ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จะให้ค่าที่โดยทั่วไปแล้วจะมีค่าใกล้เคียงกันสำหรับแผ่นดินไหวขนาดกลาง (3 - 7 แมกนิจูด) แต่ที่ไม่เหมือนกับมาตราริกเตอร์คือ มาตราโมเมนต์แมกนิจูดจะรายงานสมบัติพื้นฐานของแผ่นดินไหวจากข้อมูลเครื่องตรวจวัด แทนที่จะเป็นการรายงานข้อมูลเครื่องตรวจวัด ซึ่งไม่สามารถเปรียบเทียบกันได้ในแผ่นดินไหวทุกครั้ง และค่าที่ได้จะไม่สมบูรณ์ในแผ่นดินไหวความรุนแรงสูง เนื่องจากมาตราโมเมนต์แมกนิจูดมักจะให้ค่าที่ใกล้เคียงกันกับมาตราริกเตอร์ แมกนิจูดของแผ่นดินไหวที่ได้รับรายงานในสื่อมวลชนจึงมักจะรายงานโดยไม่ระบุว่าเป็นการวัดความรุนแรงตามมาตราใด
 
พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาของแผ่นดินไหว ซึ่งสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับพลังทำลายล้างของมัน สามารถวัดได้จาก <sup>3</sup>/<sub>2</sub> เท่าของแอมพลิจูดการสั่น ดังนั้น แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงแตกต่างกัน 1 แมกนิจูดจึงมีค่าเท่ากับพหุคูณของ 31.6 (= (10<sup>1.0</sup>)<sup>(3 / 2)</sup>) ในพลังงานที่ปลดปล่อยออกมา และที่แตกต่างกัน 2 แมกนิจูด จะมีค่าเท่ากับพหุคณของ 1000 (= (10<sup>2.0</sup>)<sup>(3 / 2)</sup>) ในพลังงานที่ปลดปล่อยออกมา<ref>[{{Cite web |url=http://earthquake.usgs.gov/learn/topics/measure.php |title=USGS: Measuring the Size of an Earthquake, Section 'Energy, E'] |access-date=2011-03-26 |archive-date=2015-01-18 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150118173606/http://earthquake.usgs.gov/learn/topics/measure.php |url-status=dead }}</ref> '''(ความจริงแล้ว แมนติจูด ใช้วัดปริมาณพลังงานของแผ่นดินไหวที่แท้จริง แต่คนไทยเรียกผิดเป็นริกเตอร์{{อ้างอิง}})'''
 
== ประวัติ ==