ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 46:
โครงการมีระยะทางทั้งหมด 185 กิโลเมตร มีจำนวนสถานี 44 สถานี เป็นเส้นทางหลักในแนวเหนือ–ใต้ ตามแนวทางรถไฟเดิมของการรถไฟแห่งประเทศไทย เชื่อมต่อพื้นที่ชานเมืองด้านทิศเหนือ (พื้นที่ดอนเมือง, รังสิต, ปทุมธานีและอยุธยา) และพื้นที่ชานเมืองด้านทิศใต้ (พื้นที่บางบอนและมหาชัย) เข้าสู่ใจกลางเมือง (หัวลำโพง) โดยบูรณาการการเดินทางร่วมกันกับระบบรถไฟทางไกลที่สามารถเชื่อมโยงการเดินทางไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ โครงข่ายสนับสนุนให้เกิดการกระจายตัวของพื้นที่อยู่อาศัยไปยังพื้นที่รอบนอก ตามแนวคิดผังเมือง รองรับศูนย์ราชการกรุงเทพมหานครแห่งใหม่ พื้นที่ชุมชนบริเวณถนนแจ้งวัฒนะและรามอินทราที่กำลังมีการเติบโตในอัตราสูง เชื่อมต่อกับท่าอากาศยานดอนเมือง รองรับประชาชนบริเวณรังสิต ปทุมธานี ไปยังเมืองมหาวิทยาลัยบริเวณรังสิต อยุธยา เชื่อมโยงไปยังบ้านภาชี
 
ปัจจุบันรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงเข้ม ได้เริ่มดำเนินการนำขบวนรถออกทดสอบระบบบางส่วนแล้ว ได้แก่ ทดสอบระบบการจ่ายไฟฟ้าให้กับขบวนรถ การวัดระยะห่างระหว่างขบวนรถกับชานชาลาตัวสถานี<ref>[https://www.youtube.com/watch?v=ZTJ6iv851Kg เริ่มทดสอบระบบรถไฟฟ้าสายสีแดง บน MAIN LINE - YouTube]</ref><ref>[https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/2498232807064889 รถไฟฟ้าสายสีแดงประเดิมความเร็วจาก10อัพสปีด140 - ข่าวนวัตกรรมขนส่ง เดลินิวส์] , สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2563</ref> โดยมี [[รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.|บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด]] เป็นผู้ให้บริการชั่วคราวจนกว่าจะได้เอกชนดำเนินการใน พ.ศ. 2570 และจะเปิดเต็มระบบในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 <ref>{{Cite web|last=aof|date=2021-06-01|title=เปิดใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง ก.ค.นี้ "ศักดิ์สยาม" ประกาศความพร้อม|url=https://www.prachachat.net/property/news-681986|website=ประชาชาติธุรกิจ|language=th}}</ref>
 
== พื้นที่ที่เส้นทางผ่าน ==