ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อียิปต์โบราณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: ลิงก์แก้ความกำกวม
บรรทัด 202:
 
ไม่เกินยุคราชวงศ์ที่สอง การค้าอียิปต์กับ[[บิบลอส]]ทำให้ได้มาซึ่งไม้คุณภาพที่ไม่สามารถพบในอียิปต์ ในสมัยราชวงศ์ที่ห้า การค้ากับดินแดน[[Land of Punt|พันท์]]ได้มาซึ่งทองคำ เรซินอะโรมาติก ไม้มะเกลือ งาช้าง และสัตว์ป่า เช่น ลิงและลิงบาบูน{{sfnp|Shaw|2003|p=322}} อียิปต์อาศัยการค้าขายกับ[[อนาโตเลีย]]เพื่อดีบุกและทองแดง ชาวอียิปต์โบราณยกย่องหิน[[ลาพิสลาซูลี]]สีน้ำเงิน ซึ่งต้องนำเข้าจาก[[อัฟกานิสถาน]]ที่อยู่ห่างไกลออกไปมาก คู่ค้าในแถบเมดิเตอร์เรเนียนของอียิปต์ยังรวมถึง[[กรีซโบราณ|กรีซ]]และ[[ครีต]] เพื่อจัดหา[[น้ำมันมะกอก]]และสินค้าอื่น ๆ{{sfnp|Manuelian|1998|p=145}}
 
==ภาษา==
{{Hiero | ''r n kmt''<br /> 'ภาษาอียิปต์' | <hiero>r:Z1 n km m t:O49</hiero> | align=right | era=default}}
===พัฒนาการ===
[[ภาษาอียิปต์]]เป็นภาษาใน[[ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก]]ตอนเหนือ ใกล้ชิดกับ[[ภาษาเบอร์เบอร์]]และ[[กลุ่มภาษาเซมิติก|ภาษาเซมิติก]]
The [[Egyptian language]] is a northern [[Afro-Asiatic languages|Afro-Asiatic]] language closely related to the [[Berber languages|Berber]] and [[Semitic languages]].{{sfnp|Loprieno|1995b|p=2137}} มีประวัติยาวนานที่สุดเป็นอันดับสอง (รองจาก[[ภาษาซูเมอร์]]) โดยเริ่มมีการเขียนกันตั้งแต่ราว 3200 ปีก่อนคริสตกาลถึงยุคกลาง ไม่นับระยะเวลาที่เป็นภาษาพูดที่นานกว่านั้น ช่วงเวลาของภาษาอียิปต์โบราณ ประกอบด้วย [[ภาษาอียิปต์โบราณเก่า]] [[ภาษาอียิปต์โบราณกลาง]] (อียิปต์คลาสสิก) [[ภาษาอียิปต์โบราณตอนปลาย]] [[เดโมติก]] และ[[Coptic language|คอปติก]]{{sfnp|Loprieno|2004|p=161}} งานเขียนของอียิปต์ไม่ได้แสดงความแตกต่างในเชิงภาษาถิ่นก่อนการพัฒนาเป็นภาษาคอปติก แต่อาจมีการพูดในภาษาถิ่นที่อยู่รอบ ๆ [[เมมฟิส]]และธีบส์{{sfnp|Loprieno|2004|p=162}}
 
อียิปต์โบราณเป็น[[ภาษาคำควบ]] (synthetic language) แต่ในภายหลังได้กลายเป็น[[ภาษาแยกหน่วยคำ]] (analytic language), [[ไฮเออโรกลีฟอียิปต์|อักษรไฮเออโรกลีฟ]] (hieroglyphic) [[hieratic|ไฮเออราติก]] (hieratic) และดีโมติก ถูกแทนที่ด้วย[[ชุดตัวอักษรคอปติก]]ที่สะกดตามการออกเสียง คอปติกยังคงใช้ในพิธีสวดของโบสถ์คริสต์[[คอปติกออร์ทอดอกซ์]] และบางส่วนใน[[ภาษาอาหรับอียิปต์]]สมัยใหม่{{sfnp|Vittman|1991|pp=197–227}}
 
===การเขียน===
[[File:Rosetta Stone BW.jpeg|thumb|upright| [[ศิลาโรเซตตา]] (ราว 196 ปีก่อนคริสต์กาล)|220px]]
 
อักษรอียิปต์โบราณประกอบด้วยตัวอักษรในรูปแบบสัญลักษณ์นับร้อย เริ่มใช้ตั้งแต่ราว 3000 ปีก่อนคริสตกาล สามารถแทนคำ เสียง และ silent determinative และสัญลักษณ์เดียวกันสามารถสื่อได้หลายความหมายตามวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันในบริบทที่แตกต่างกัน อักษรไฮเออโรกลีฟเป็นอักษรที่เป็นทางการ มีให้เห็นได้ตามอนุสาวรีย์หินและในสุสานเสมือนผลงานศิลปะชิ้นหนึ่ง ในการเขียนแบบวันต่อวัน อาลักษณ์ใช้รูปแบบการเขียนที่เขียนได้เร็วและง่ายกว่าที่เรียกว่า อักษรไฮเออราติก ในขณะที่อักษรไฮเออโรกลีฟสามารถอ่านได้ในทั้งแนวตั้งและนอน (แม้ว่าโดยทั่วไปแล้วจะเขียนจากขวาไปซ้าย) อักษรไฮเออราติกมักจะเขียนจากขวาไปซ้ายและอยู่ในแถวแนวนอน รูปแบบการเขียนใหม่ "[[อักษรดีโมติก]]" กลายเป็นรูปแบบการเขียนที่แพร่หลายต่อมา โดยเขียนร่วมกับอักษรไฮเออโรกลีฟอย่างเป็นทางการ เช่นที่จารึกบน[[ศิลาโรเซตตา]]ร่วมกับ[[อักษรกรีก]]{{sfnp|Loprieno|1995a|pp=10–26}}
 
ราวศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช เริ่มมีการนำอักษรคอปติกมาใช้ควบคู่ไปกับอักษรเดโมติก โดยเป็นอักษรกรีกที่ถูกดัดแปลงพร้อมเพิ่มเติมเครื่องหมายแบบดีโมติก{{sfnp|Allen|2000|p=7}} แม้ว่าอักษไฮเออโรกลีฟจะใช้ในพิธีการจนถึงคริสต์ศตวรรษที่สี่ แต่ในช่วงท้ายนี้มีนักบวชเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่ยังคงอ่านได้ เนื่องจากศาสนสถานแบบดั้งเดิมถูกยุบ ความรู้เกี่ยวกับการเขียนอักษรอียิปต์โบราณจึงสูญหายไป
 
ความพยายามที่จะแกะความหมายของตัวอักษรมีมาตั้งแต่สมัยไบแซนไทน์{{sfnp|Loprieno|2004|p=166}} และยุคอิสลามในอียิปต์{{sfnp|El-Daly|2005|p=164}} แต่ต้องรอจนถึงในช่วงปี 1820 ถึงจะไขปริศนาได้ เมื่อมีการค้นพบศิลาโรเซตตาและการค้นคว้าหลายปีโดย[[โทมัส ยัง]] และ[[ฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง]] {{sfnp|Allen|2000|p=8}}
 
==มรดกที่ให้ไว้ต่อโลก==