ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Gare Hua Lamphong.jpg|thumb|[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]] ]]
 
'''[[การขนส่งระบบราง]]ใน[[กรุงเทพมหานคร]]''' เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2436 โดยเปิด[[ทางรถไฟสายปากน้ำ]] จากกรุงเทพไปยัง[[สมุทรปราการ]] ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นรถไฟหลวง และเริ่มดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2439 โดยเปิดเดินรถจากกรุงเทพ-[[นครราชสีมา]] เป็นสายแรก และเส้นทางต่อขยายไปยัง[[เชียงใหม่]] [[หนองคาย]] [[อุบลราชธานี]] [[สุไหงโก-ลก]] ส่วน[[ระบบขนส่งทางรางในเขตเมือง|รถไฟฟ้า]]สายแรก คือ [[รถไฟฟ้าบีทีเอส]] ได้เปิดใช้งานในปี พ.ศ. 2542 ตามด้วย[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] ซึ่งเปิดใช้งานในปี พ.ศ. 2547 และ[[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิแอร์พอร์ต เรล ลิงก์]] ซึ่งเปิดใช้งานในปี พ.ศ. 2553
 
==รถไฟทางไกลและรถไฟชานเมือง==
บรรทัด 20:
==รถไฟฟ้า==
{{บทความหลัก|รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล}}
[[ระบบขนส่งทางรางในเขตเมือง|รถไฟฟ้า]]ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล อยู่ภายใต้ ''โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง'' ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ''โครงการแผนแม่บท การขนส่งมวลชนระบบรางในเขต[[กรุงเทพมหานคร]] และพื้นที่ต่อเนื่อง'' ซึ่ง [[สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร]] (สนข.) ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีในปี [[พ.ศ. 2541]] ให้เร่งดำเนินงาน โดยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอันได้แก่ [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] (รฟท.), [[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] (รฟม.), [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]] (กทม.) และ [[สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ]] [[กระทรวงการคลัง]] (สบน.) ปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครเดิม ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ จากความล้มเหลวของ[[โครงการโฮปเวลล์]]และวิกฤตเศรษฐกิจในปี [[พ.ศ. 2540]]
 
=== สายที่ให้บริการในปัจจุบัน ===