ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wake it up (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มรูปเอกสารการยกเลิกกฎหมายฉบับเก่า และเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
เอา overview ขึ้นก่อน +ย้ายแล้วกรอบหรือรูปต่างๆ ซ้อนกันเละเทะ
บรรทัด 19:
 
หลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] ตัวกฎหมายความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนัก ทั้งนี้เพราะ[[คณะราษฎร]]ประนีประนอมกับพระมหากษัตริย์ และมีการเพิ่มสถานะล่วงละเมิดมิได้ของพระมหากษัตริย์ลงในรัฐธรรมนูญหลังจากนั้นทุกฉบับด้วย อย่างไรก็ดี การบังคับใช้กฎหมายในสมัยนั้นมีข้อยกเว้นสำหรับการแสดงออกโดยสุจริต และความเห็นเชิงวิจารณ์และไม่มีอคติต่อการกระทำของรัฐบาลและเชิงปกครอง<ref name="CMU"/>{{rp|4}} การอภิปรายเกี่ยวกับบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ในสมัยนั้นยังคงเสรี สังเกตจากการอภิปรายหัวข้อยืนยันว่าจะมีระบอบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญหรือไม่ หรือควรเปลี่ยนแปลงแก้ไขพระราชอำนาจของกษัตริย์หรือไม่ ของสภาร่างรัฐธรรมนูญในปี 2492 และกรณี [[หยุด แสงอุทัย]] นักวิชาการกล่าวบรรยายออกอากาศวิทยุว่า พระมหากษัตริย์ไม่พึงตรัสพาดพิงปัญหาเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง หรือสังคมของประเทศ โดยไม่มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ<ref name="นพพล"/>{{rp|30}}
 
=== การแก้ไขกฎหมาย พ.ศ. 2500 : "ดูหมิ่น" ===
{{Quote frame|align=right |width=30% | "... จำเลยทราบเรื่องราวมาในลักษณะที่เป็นข่าวเล่าต่อๆ กันมา อาจไม่เป็นความจริงก็เป็นได้ และแม้จะเป็นความจริงก็ไม่พึงนำมากล่าวต่อสาธารณชน เพราะไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายให้กระทำได้และที่เกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์นี้ เป็นสถาบันที่พึงเคารพสักการะของประชาชน อยู่ในฐานะละเมิดมิได้ ย่อมอยู่เหนือการติชมใดๆ ทั้งสิ้น"<ref name="นพพล"/>{{rp|38–9}}| คำพิพากษาของศาลในปี 2526 }}
 
วันที่ 1 มกราคม 2500 "ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499" มีผลใช้บังคับ<ref name="CMU"/>{{rp|18}} ใจความแก้ไขกฎหมายความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ให้ครอบคลุม "การดูหมิ่น" ด้วย เพิ่มเติมจากการหมิ่นระมาทและการแสดงเจตนาร้าย นับเป็นการขยายขอบเขตการตีความอย่างกว้างขวาง<ref name="CMU"/>{{rp|6}} ย้ายบทบัญญัติดังกล่าวไปอยู่ในมาตรา 112 ของประมวลกฎหมายฉบับใหม่ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงให้ความผิดต่อพระมหากษัตริย์เป็นความผิดต่อความมั่นคงของชาติด้วย<ref name="Connors">{{cite book |last= Connors |first= Michael Kelly |date= 2003 |title= Democracy and National Identity in Thailand |url= |location= |publisher= RoutledgeCurzon |page= |isbn= 0-203-36163-6 |author-link= }}</ref>{{rp|133}} ตัดสิทธิในการแสดงความคิดเห็นที่อาจดูหมิ่นพระมหากษัตริย์ได้หากเป็นไปตามเจตจำนงของรัฐธรรมนูญ<ref name="CMU"/>{{rp|6}}
 
กระนั้นคำวินิจฉัยของศาลในระยะแรกหลังเปลี่ยนแปลงยังนำบริบทมาพิจารณาด้วย มิใช่พิจารณาจากตัวข้อความอย่างเดียว ในเดือนธันวาคม 2500 ศาลพินิจว่าคดีที่ส่งศักดิ์ สายปัญญา ผู้สมัครพรรคประชาธิปัตย์ เป็นจำเลยนั้นไม่เป็นความผิด เพราะอยู่ในช่วงการหาเสียงเลือกตั้งย่อมมีการกล่าวหาทำลายกัน<ref name="นพพล"/>{{rp|32–3}}
 
[[File:การยกเลิกมาตรา 112 ปี 2519.png|thumb|คำสั่งจากคณะรัฐประหารให้เหตุผลในการเพิ่มโทษจากจำคุกสูงสุด 7 ปี เป็นจำคุกต่ำสุด 3 ปี และสูงสุด 15 ปี]]
 
หลังวันที่เกิด[[เหตุการณ์ 6 ตุลา]]และ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519]]เพียงสองอาทิตย์ คณะรัฐประหารให้เหตุผลในการแก้ไขกฎหมายนั้นว่าไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในขณะนั้น จึงแก้ไขกฎหมายให้มีโทษสูงขึ้น โดยเพิ่มจากจำคุกสูงสุด 7 ปี เป็นจำคุกต่ำสุด 3 ปี และสูงสุด 15 ปี และขยายขอบเขตของความผิด "หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ"<ref>{{cite journal |author=Colum Murphy |year=2006 |month=September |title=A Tug of War for Thailand’s Soul |journal=Far Eastern Economic Review |accessdate=26 September 2007}}</ref> [[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]]ยังตีความว่า กฎหมายห้ามครอบคลุมถึงการวิจารณ์โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สถาบันพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์จักรีและพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์<ref name=reinteprete>{{cite journal |author=David Streckfuss |title=Kings in the Age of Nations: The Paradox of Lèse-Majesté as Political Crime in Thailand |journal=Comparative Studies in Society and History|volume=33 |issue=3 |pages=445–475}}</ref> ทั้งนี้ประเทศไทยเป็นประเทศ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]ประเทศเดียวที่เพิ่มโทษของความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ยกเว้นเพียง[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง<ref name="David"/>{{rp|115–116}}
 
ประมาณพุทธทศวรรษ 2520 เมื่อฐานพระราชอำนาจได้เติบโตขึ้นในหมู่[[ชนชั้นกลาง]]ในเมือง มีการสร้างความสัมพันธ์แบบญาติและความใกล้ชิดระหว่างพลเมืองกับพระมหากษิตริย์ ("พ่อ") ตลอดจนสถานะอันล่วงละเมิดมิได้สมัยใหม่<ref name="นพพล"/>{{rp|37–8}} นับแต่นั้น คำวินิจฉัยของศาลและการตีความของนักวิชาการกฎหมายได้เปลี่ยนจากพระมหากษัตริย์ทรงเป็นกลางทางการเมืองมาเป็นพระมหากษัตริย์ไม่สามารถถูกวิจารณ์ได้ไม่ว่ากรณีใด ๆ<ref name="นพพล"/>{{rp|38–9}} ในพุทธทศวรรษ 2530 ยังมีนักวิชาการเริ่มตีความว่าประชาชนและพระมหากษัตริย์เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยร่วมกันอีกด้วย<ref name="นพพล"/>{{rp|36}}
 
สังเกตว่าได้เกิดปรากฏการณ์ที่สื่อมวลชน บุคคลทั่วไป หรือแม้แต่ในคำพิพากษาของศาล มักใช้ถ้อยคำในการกล่าวถึงการกระทำของผู้ถูกกล่าวหาในข้อหามาตรา 112 ที่ไม่ได้เป็นการกระทำที่ระบุไว้ในกฎหมาย (หมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้าย) เช่น ล่วงเกิน, จาบจ้วง, ลบหลู่, อาจเอื้อม, ก้าวล่วง, ย่ำยี, ลามปาม, ขาดความเคารพสักการะ, มิบังควร, ไม่เทิดทูน, หมิ่นเหม่, กระทบกระทั่ง, ไม่เหมาะสม เป็นต้น<ref name="นพพล"/>{{rp|38}} ตัวอย่างที่ศาลพิเคราะห์ว่า "ดูหมิ่น" เช่น คำปราศรัยหาเสียงของ[[วีระ มุสิกพงศ์]] ในปี 2531 ตอนหนึ่งว่า "ถ้าผมเลือกเกิดเองได้ ผมจะไปเลือกเกิดทำไมเป็นลูกชาวนาจังหวัดสงขลา จะไปเลือกเกิดอย่างนั้นทำไม ถ้าเลือกเกิดได้ก็เลือกเกิดมันใจกลางพระบรมมหาราชวังนั่น ออกมาเป็นพระองค์เจ้าวีระซะก็หมดเรื่อง ไม่จำเป็นต้องออกมายืนตากแดดพูดให้พี่น้องฟัง เวลาอย่างนี้เที่ยงๆ ก็เข้าห้องเย็น เสวยเสร็จก็บรรทมไปแล้ว ตื่นอีกที่ก็บ่ายสามโมง" ซึ่งศาลเห็นว่าเป็นการ "กล่าววาจาจาบจ้วงล่วงเกิน เปรียบเทียบเปรียบเปรยหรือเสียดสีให้เป็นที่ระคายเคืองต่อเบื้องพระยุคลบาท" หรือกรณีบุคคลใช้ผ้าพันคอ[[ลูกเสือชาวบ้าน]]มาเช็ดโต๊ะในปี 2519<ref name="Connors"/>{{rp|134}}
 
=== ในยุควิกฤตการเมือง ===
{| class="wikitable floatright" width=20%
|+ | คดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย ปี 2550–60<ref name="iLaw">{{cite web|title=List of individuals charged with Article 112 of the Criminal Code (lèse majesté)|url=https://freedom.ilaw.or.th/en/content/charges-against-individuals-after-2014-coup|website=iLAW|accessdate=17 November 2017}}</ref>
|-
! ปี !! จำนวนคดี
|-
|2550 || 36
|-
|2551 ||55
|-
|2552 ||104
|-
|2553 ||65
|-
|2554 ||37
|-
|2555 ||25
|-
|2556 ||57
|-
|2557 ||99
|-
|2558 ||116
|-
|2559 ||101
|-
|2560 {{small|(9 เดือน)}}|| 45
|}
 
[[ไฟล์:Thai-coup-detat-2014-social-media-banner.jpg|thumb|right|250px|แผ้นป้ายในกรุงเทพมหานครแจ้งว่าให้งด "ถูกใจ" หรือ "แบ่งปัน" ภาพหรือเนื้อหาในสื่อสังคมเพื่อ "ร่วมกันปกป้องสถาบัน[พระมหากษัตริย์]"]]
 
ตั้งแต่ปี 2533 ถึง 2548 ระบบศาลไทยมีคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยเพียงสี่หรือห้าคดีต่อปี ทว่า ระหว่างเดือนมกราคม 2549 ถึงพฤษภาคม 2554 มีการพิจารณากว่า 400 คดี หรือประเมินว่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1,500<ref name="increase"/> ผู้สังเกตการณ์ให้เหตุผลถึงการเพิ่มขึ้นดังกล่าวว่า เกิดจากการแยกเป็นสองขั้วเพิ่มขึ้นหลัง[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหารปี 2549]] และความละเอียดอ่อนต่อพระพลานามัยที่เสื่อมลงของพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระชราภาพ<ref name="increase">{{cite news |url=https://www.mcall.com/sdut-thailand-arrests-american-for-alleged-king-insult-2011may27-story.html |title=Thailand arrests American for alleged king insult |author=Todd Pitman and Sinfah Tunsarawuth |date=27 March 2011 |agency=Associated Press |accessdate=27 May 2011}}</ref> ทั้งนี้แม้ว่า[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]ทรงมีพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2548 พาดพิงถึงผู้ที่พระองค์ทรงขอมิให้มองข้ามธรรมชาติมนุษย์ของพระองค์ก็ตาม<ref name="wrong">{{cite web |date=5 December 2005 |url=http://www.nationmultimedia.com/2005/12/05/headlines/data/headlines_19334288.html|title=Royal Birthday Address: 'King Can Do Wrong'|publisher=National Media|accessdate=26 September 2007}}</ref>
 
ช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ นักการเมืองพรรคไทยรักไทยและพรคประชาธิปัตย์ ตลอดจนขบวนการต่อต้านรัฐบาล [[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] ต่างฟ้องคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยใส่กัน<ref name="David"/>{{rp|124}} ในรัฐประหารปี 2549 คณะรัฐประหารอ้างเหตุความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ของ[[ทักษิณ ชินวัตร]] อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นสาเหตุหนึ่ง<ref name="murphy">{{cite journal |author=Colum Murphy |date=September 2006 |title=A Tug of War for Thailand's Soul |journal=Far Eastern Economic Review}}</ref><ref name="protlaw">{{cite journal |author=Julian Gearing |date=3 December 1999 |url=http://www-cgi.cnn.com/ASIANOW/asiaweek/magazine/99/1203/soc.thailand.lesemajeste.html |title=A Protective Law: It's called lèse-majesté, and it is taken seriously |journal=Asiaweek |volume=25 |issue=48 |access-date=2020-07-30 |archive-date=2014-09-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20140905214129/http://www-cgi.cnn.com/ASIANOW/asiaweek/magazine/99/1203/soc.thailand.lesemajeste.html |url-status=dead }}</ref><ref name="turkish">{{cite web |date=19 September 2006 |url=http://www.turkishpress.com/news.asp?id=142951 |title=Thai coup leader says new PM within two weeks |publisher=TurkishPress |accessdate=26 September 2007 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070930181828/http://www.turkishpress.com/news.asp?id=142951 |archive-date=30 September 2007 |url-status=dead }}</ref><ref name="worldnotes">{{cite web |date=15 September 1986 |url=http://jcgi.pathfinder.com/time/magazine/article/0,9171,962326,00.html |title=World Notes Thailand |work=Time |accessdate=26 September 2007 |archive-date=2007-06-20 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070620163553/http://jcgi.pathfinder.com/time/magazine/article/0,9171,962326,00.html |url-status=dead }}</ref> หลังจากนั้น มีคำสั่งปิดสถานีวิทยุหลายสิบแห่งด้วยข้อหาดังกล่าว<ref>Reporters Without Borders, [http://en.rsf.org/thailande-lese-majeste-charge-used-to-02-05-2011,40121.html Lèse-majesté charge used to crack down on opposition media] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160304064442/http://en.rsf.org/thailande-lese-majeste-charge-used-to-02-05-2011,40121.html |date=2016-03-04 }}, 2 May 2011</ref>
 
ก่อนหน้ารัฐประหารปี 2549 จำเลยของคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ส่วนใหญ่เป็นนักการเมือง ข้าราชการระดับสูงและบุคคลนอกรัฐธรรมนูญ แต่หลังปี 2550 มีบุคคลทั่วไปถูกฟ้องร้องด้วยเป็นจำนวนมาก<ref name="David"/>{{rp|124}} นอกจากนี้ก่อนหน้าปี 2550 ไม่มีจำเลยคนใดได้รับโทษจำคุกเกิน 10 ปี และยิ่งเวลาผ่านไป โทษยิ่งหนักขึ้นเรื่อย ๆ<ref name="นพพล"/>{{rp|40–1}} แนวทางการพิจารณาคดีมาตรา 112 ในระยะหลังชัดเจนว่าใช้อุดมการณ์[[นิยมเจ้า]]และ[[ชาตินิยม]]เข้ามาตีความมากขึ้นเรื่อย ๆ เช่น พรรณนาความประวัติศาสตร์ชาติไทย อ้างอิงพระราชกรณียกิจ เชื่อมโยงเข้ากับความเป็นไทย และความรู้สึกของประชาชนภายในชาติ<ref name="นพพล"/>{{rp|42}}
 
มีนักวิชาการถูกสอบสวน จำคุกหรือถูกบังคับให้ลี้ภัยจากความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ ในปี 2550 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์ จากคณะอักษรศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] เป็นผู้ต้องหาหลังออกข้อสอบว่า สถาบันพระมหากษัตริย์จำเป็นต่อสังคมไทยหรือไม่ และสถาบันพระมหากษัตริย์สามารถปฏิรูปให้เข้ากับระบบประชาธิปไตยได้หรือไม่<ref>[http://article112.blogspot.com/2011/03/blog-post_6472.html กรณีบุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์], 30 มีนาคม พ.ศ. 2554</ref> [[สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล]] นักประวัติศาสตร์ ถูกจับหลังเสนอแผนแปดข้อว่าด้วยการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์<ref>[http://www.seapabkk.org/alerts/100447-seapa-alert-thai-history-professor-faces-lese-majeste-complaint.html SEAPA Alert: Thai history professor faces lèse majesté complaint] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120419152445/http://www.seapabkk.org/alerts/100447-seapa-alert-thai-history-professor-faces-lese-majeste-complaint.html |date=2012-04-19 }}, 10 May 2011</ref><ref>''Bangkok Post'', [http://www.bangkokpost.com/news/local/233524/intellectuals-join-somsak-to-defend-stance Intellectuals join Somsak to defend stance], 24 April 2011</ref> รองศาสตราจารย์ [[ใจ อึ๊งภากรณ์]]ลี้ภัยหลังหนังสือ ''[[A Coup for the Rich]]'' ของเขาตั้งคำถามถึงบทบาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในรัฐประหารเมื่อปี 2549<ref>[http://www.guardian.co.uk/world/2009/feb/09/professor-thailand-charged-king British professor flees Thailand after charge of insulting king], 9 February 2009</ref> ในเดือนมีนาคม 2554 มีการตั้ง[[กลุ่มนิติราษฎร์]] โดยมุ่งแก้ไขกฎหมายดังกล่าว ทำให้ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 [[วรเจตน์ ภาคีรัตน์]] สมาชิกกลุ่มคนหนึ่ง ถูกทำร้ายร่างกายกลางวันแสก ๆ ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<ref name="Sinfah">{{Citation |author=Sinfah Tunsarawuth |url=http://ioc.sagepub.com/content/41/3/103.extract |title=Royal Chill |journal=Index on Censorship |volume=41 |date=September 2012 |pages=103–107 |doi=10.1177/0306422012456809}}</ref>
 
รายงานประจำปี 2557 ของ[[ฮิวแมนไรท์วอตช์]] ว่า แม้การจับกุมและพิพากษาลงโทษฐานความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยจะลดลงมากในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ แต่หน่วยงานราชการต่าง ๆ ยังมีการใช้กฎหมายดังกล่าวร่วมกับพระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี ผู้ถูกตั้งข้อหานี้มักไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัว และถูกคุมขังในเรือนจำหลายเดือนก่อนมีการไต่สวนในชั้นศาล และคำพิพากษาส่วนใหญ่เป็นการลงโทษอย่างรุนแรง<ref name=hrw2014/> ยิ่งลักษณ์ว่ารัฐบาลตนจะไม่ปฏิรูปกฎหมายนี้<ref name=BP115>{{cite web |url=http://www.bangkokpost.com/news/politics/292743/ampon-team-of-lawyers-say-their-best-not-good-enough |title=Ampon team of lawyers say their best 'not good enough' |author=Achara Ashayagachat |date=11 May 2012 |work=Bangkok Post |accessdate=11 May 2012}}</ref>
 
หลังรัฐประหารปี 2557 [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]ให้อำนาจศาลทหารดำเนินคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย<ref>"[http://www.prachatai.com/english/node/4021 All crimes involving alleged lèse-majesté, sedition subjected to Military Court: Thai Coup makers]", 25 May 2014. ''Prachatai English''. Accessed 11 September 2016.</ref> ศาลทหารลงโทษหนักกว่าศาลพลเรือนอยู่เป็นนิจ ในเดือนสิงหาคม 2558 ศาลทหารลงโทษจำคุกพงษ์ศักดิ์ ศรีบุญเพ็งสำหรับการโพสต์เฟซบุ๊ก 6 กระทง รวม 60 ปี ลดโทษเหลือกึ่งหนึ่งเพราะจำเลยรับสารภาพ นับเป็นโทษจำคุกยาวนานที่สุดสำหรับความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย<ref>{{cite news|title=Running Afoul of the Thai Monarchy|url=https://www.nytimes.com/interactive/2015/09/18/world/asia/thailand-king-lese-majeste.html|work=New York Times|accessdate=22 September 2015}}</ref><ref>{{cite web|title=Thailand: UPR Submission 2015|url=https://www.hrw.org/news/2015/09/21/thailand-upr-submission-2015|website=Human Rights Watch|accessdate=22 September 2015|date=2015-09-21}}</ref> ทั้งนี้รัฐบาลทหารไม่ประสบความสำเร็จในการขอส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนผู้ต้องหาในความผิดดังกล่าวจากต่างประเทศเลย<ref>[http://www.khaosodenglish.com/politics/2015/07/14/1436851966/ Thai Minister Asks French Diplomat to Extradite Lèse-Majesté Suspects]. ''Khaosod English''.</ref> ไอลอว์ องค์การไม่แสวงผลกำไร รายงานว่ามีการกักขังบุคคลเป็นเวลาสูงสุด 7 วันโดยไม่มีการแจ้งข้อกล่าวหา มีการใช้การพิจารณาคดีลับ มีการยึดอุปกรณ์สือ่สารส่วนบุคคลเพื่อหาหลักฐานด้วย<ref>[http://freedom.ilaw.or.th/en/report/2014/LeseMajeste 2014 Situation Summary Report 2/5: Lèse-majesté cases: One step forward, three steps backward]. iLaw.</ref>
 
ในปี 2558 หนังสือพิมพ์ ''[[ประชาไท]]'' สรุปการกระทำที่มีความผิดในข้อหาความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย เช่น การวาดกราฟิตีในห้องน้ำ ส่งท่าทาง[[ภาษามือ]] ไม่ยืนเคารพเพลง[[สรรเสริญพระบารมี]]ในโรงภาพยนตร์ ฉีกทำลายหรือเหยียบย่ำพระบรมฉายาลักษณ์<ref>{{cite web|url=https:/ุ/www.flickr.com/photos/prachatai/22168436089/|title=Prachatai Infographic 20151021|date=21 October 2015|publisher=|accessdate=1 May 2019|via=Flickr}}</ref> มีนางพยาบาลที่แต่งชุดดำในวันคล้ายวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรถูกฟ้องคดีด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.prachatai.com/english/node/4584|title=3 lèse majesté complaints filed against women wearing black around King's birthday|date=2014-12-10|work=Prachatai English|accessdate=2014-12-11}}</ref>
 
=== รัชกาลที่ 10 : แนวโน้มใหม่ ===
[[ไฟล์:Wanchalerm Save วันเฉลิม.jpg|thumb|upright=1.2|ใบปิดประกาศคนหายของ[[วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์]] ผู้ถูกกล่าวหาความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ ถูก[[การบังคับบุคคลให้สูญหาย|บังคับให้สูญหาย]]ในประเทศกัมพูชาในเดือนมิถุนายน 2563 มีการตั้งข้อสังเกตว่าข้อหาดังกล่าวเป็นเหตุจูงใจ]]
 
ไม่นานหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา (ไผ่ ดาวดิน) ถูกดำเนินคดีฐานแบ่งปันพระราชประวัติของ[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]]ที่เผยแพร่ทางเว็บไซต์สำนักข่าว[[บีบีซีไทย]] เขาเป็นคนเดียวที่ถูกจับ ทั้งที่มีคนแบ่งปันบทความดังกล่าวกว่า 2,600 คนและสำนักข่าวไม่ถูกดำเนินคดี<ref>[http://www.khaosodenglish.com/politics/2016/12/03/activist-pai-dao-din-arrested-lese-majeste/ Activist ‘Pai Dao Din’ Arrested For Lese Majeste]. ''Khaosod English''.</ref> ในเดือนพฤษภาคม 2560 รัฐบาลแถลงว่าแค่การเข้าชมเนื้อหาที่เข้าข่ายความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ก็ถือว่าละเมิดกฎหมายแล้ว<ref>{{cite news|url=https://www.reuters.com/article/us-thailand-insult-idUSKBN18I0WG|title=Thailand extends web controls from composers of illicit content to viewers|website=Reuters|date=2017-05-22|author1=Amy Sawitta Lefevre|author2=Aukkarapon Niyomyat}}</ref>
 
ในปี 2560 มีคดีเผาซุ้มเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเด็กอายุ 14 ปีถูกดำเนินคดีด้วย นับเป็นการดำเนินคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยครั้งแรกต่อผู้เยาว์<ref name="tlhr60">[https://www.tlhr2014.com/?p=5864#pll_switcher 1 ปี การคุมขัง ‘ไผ่ ดาวดิน’ กับสถานการณ์มาตรา 112 ในรอบปี 2560]</ref> คดีที่ประเวศ ประภานุกูล ทนายความ ตกเป็นจำเลยเพราะข้อความในเฟซบุ๊ก เขาต่อสู้คดีโดยไม่ยอมรับกระบวนการยุติธรรม เพราะเห็นว่าศาลกระทำการในพระปรมาภิไธยและขาดความเป็นกลาง<ref name="tlhr60"/> สุลักษณ์ ศิวรักษ์ถูกฟ้องคดีเนื่องจากตั้งคำถามถึงข้อเท็จจริงของยุทธหัตถีของ[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]<ref name="tlhr60"/> และมีหลายกรณีที่ทางการไม่ได้ดำเนินคดี แต่ใช้มาตรการกดดันอย่างอื่นแทน เช่น ควบคุมตัวในค่ายทหาร 7 วัน, ให้ลงนามเอกสารรับเงื่อนไขห้ามเคลื่อนไหวทางการเมือง, ถูกตรวจสอบอุปกรณ์สื่อสาร, ถูกให้กดยกเลิกการติดตาม (Unfollow) เพจต่อหน้าเจ้าหน้าที่ หรือถูกให้พูดต่อหน้ากล้องวีดีโอเพื่อแสดงความจงรักภักดี<ref name="tlhr60"/>
 
ตั้งแต่ปี 2561 ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นองค์การช่วยเหลือด้านกฎหมาย ระบุว่าไม่มีคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ใหม่เท่าที่ทราบ คำสั่งอัยการสูงสุดลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 ออกแนวปฏิบัติใหม่สำหรับการดำเนินคดีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ทำให้บัดนี้[[อัยการสูงสุด (ประเทศไทย)|อัยการสูงสุด]]เป็นผู้ฟ้องคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์แต่ผู้เดียว และในเดือนมิถุนายน 2561 มีการออกระเบียบใหม่ให้อัยการใช้ดุลยพินิจไม่สั่งดำเนินคดีสำหรับกรณีที่จะไม่เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะ<ref name="tlhr">[https://www.tlhr2014.com/?p=10431&lang=en Changes in Thailand’s lèse majesté prosecutions in 2018]</ref> เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ไม่เคยเกิดมาก่อน เช่น ศาลยกฟ้องคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ทั้งที่จำเลยรับสารภาพแล้ว และผู้ต้องขังได้รับการประกันตัวในบางคดี<ref name="tlhr"/> อย่างไรก็ดี พบว่าทางการนิยมฟ้องตามกฎหมายอื่นแทน เช่น พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และกฎหมายปลุกปั่นให้ขัดขืนอำนาจปกครอง<ref name="tlhr"/> เช่น จากโพสต์ #ขบวนเสด็จ ที่พูดถึงการปิดถนนให้ขบวนเสด็จของพระบรมวงศานุวงศ์ผ่านในปี 2562 ถูกดำเนินคดีตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์<ref>[https://prachatai.com/journal/2020/08/88885 ศาลนัดสอบคำให้การคดีนักกิจกรรมโพสต์ประวัติศาสตร์กษัตริย์ต่าง ปท. และ #ขบวนเสด็จ ก.ย.นี้]</ref>
 
ไม่นานหลังรัฐบาลประกาศจะใช้กฎหมายทุกมาตรากับผู้กระทำผิดระหว่าง[[การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563]] ศาลพิพากษาจำคุกหญิงคนหนึ่ง 43 ปีจากกรณีโพสต์เฟซบุ๊ก<ref>{{cite news |title=Thai woman jailed for record 43 years for criticising monarchy |url=https://www.bbc.com/news/world-asia-55723470 |accessdate=25 January 2021 |work=BBC News |date=19 January 2021}}</ref> ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2564 ศาลไม่ให้ประกันตัวแกนนำผู้ประท้วง<ref>{{cite news |title=เปิดเหตุผลศาล ทำไมถึงไม่ให้ประกันตัว 4 แกนนำ “ราษฎร” |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-56220928 |accessdate=22 March 2021 |work=BBC ไทย |language=th}}</ref> อีกทั้งมีข่าวลือบนสื่อสังคมออนไลน์ว่าประธาน[[ศาลฎีกา]]รับว่ามีคนนอกแทรกแซงการห้ามประกันตัวแกนนำกลุ่มราษฎร<ref>{{cite news |title='โรม'ลั่นข้อกฎหมายทำได้ เชิญประธานศาลฎีกาแจงกมธ. |url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/930349 |accessdate=2 April 2021 |work=กรุงเทพธุรกิจ |language=th}}</ref>
 
== ขอบเขต ==
เส้น 232 ⟶ 161:
[[ไฟล์:Noto Emoji Pie 1f620.svg|thumb|150px|กรณีฟ้องคดีเพราะไม่ห้ามปรามแชตหมิ่นฯ ทำให้เกิดมีม "กดโกรธ"]]
วันที่ 6 พฤษภาคม 2559 พัฒน์นรี หรือหนึ่งนุช ชาญกิจ มารดาของสิรวิชญ์ เสรีธิวัฒน์ (จ่านิว) แกนนำกลุ่มพลเมืองโต้กลับ ถูกออกหมายจับในความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย เจ้าหน้าที่ว่ามีหลักฐานเป็นข้อความสนทนาผ่านโปรแกรมแชตเฟซบุ๊กกับแนวร่วมพลเมืองโต้กลับอีกคนหนึ่ง ชื่อ บุรินทร์ อินติน ซึ่งแม้หนึ่งนุชมิได้ตอบโต้ใด ๆ แต่ ทนายจำเลยอ้างว่า ตำรวจชี้แจงว่า การไม่ห้ามปรามหรือว่ากล่าวเข้าข่ายรู้เห็นเป็นใจ ซึ่งถือเป็นความผิดด้วย<ref name="แม่จ่านิว">[http://www.matichon.co.th/news/127850 ‘แม่จ่านิว’ น้ำตานอง นอนห้องขัง ‘จนท.ระดับบิ๊ก’ ค้านประกัน ยกเหตุ’คดีสำคัญ-โทษสูง-หวั่นหนี-กันยุ่งพยาน’]</ref> อัยการทหารสั่งฟ้องคดีในวันที่ 22 กรกฎาคม 2559 ในคำฟ้องระบุว่า เมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2559 พัฒน์นรีร่วมกับบุรินทร์ พิมพ์ข้อความสนทนาโต้ตอบกันผ่านเฟซบุ๊ก โดยข้อความที่อัยการเห็นว่ามีเนื้อหาเข้าข่ายความผิดตามมาตรา 112 มาจากบุรินทร์ฝ่ายเดียว แต่อัยการระบุในคำฟ้องว่า การกระทำของพัฒน์นรีและบุรินทร์เป็นไปโดยประการที่น่าจะทำให้พระมหากษัตริย์และองค์รัชทายาทขณะนั้นเสื่อมเสียพระเกียรติ ชื่อเสียง ทรงถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง<ref>[https://www.tlhr2014.com/?p=3046 อัยการศาลทหารสั่งฟ้องม.112 ‘แม่จ่านิว’ คดีตอบแชท ‘จ้า’]</ref> จากคดีนี้ทำให้เกิดมีมอินเทอร์เน็ตขึ้น เช่น "กดโกรธ", "แสร้งไม่เก็ต"<ref>[https://thematter.co/social/computer-crime-act/87037 กดไลก์ได้ไหม กดโกรธรอดหรือเปล่า? สำรวจความคลุมเครือของ พ.ร.บ.คอมฯ กับยิ่งชีพ อัชฌานนท์]</ref> หรือ "ติเตียน"
 
=== การแก้ไขกฎหมาย พ.ศ. 2500 : "ดูหมิ่น" ===
{{Quote frame|align=right |width=30% | "... จำเลยทราบเรื่องราวมาในลักษณะที่เป็นข่าวเล่าต่อๆ กันมา อาจไม่เป็นความจริงก็เป็นได้ และแม้จะเป็นความจริงก็ไม่พึงนำมากล่าวต่อสาธารณชน เพราะไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายให้กระทำได้และที่เกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์นี้ เป็นสถาบันที่พึงเคารพสักการะของประชาชน อยู่ในฐานะละเมิดมิได้ ย่อมอยู่เหนือการติชมใดๆ ทั้งสิ้น"<ref name="นพพล"/>{{rp|38–9}}| คำพิพากษาของศาลในปี 2526 }}
 
วันที่ 1 มกราคม 2500 "ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499" มีผลใช้บังคับ<ref name="CMU"/>{{rp|18}} ใจความแก้ไขกฎหมายความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ให้ครอบคลุม "การดูหมิ่น" ด้วย เพิ่มเติมจากการหมิ่นระมาทและการแสดงเจตนาร้าย นับเป็นการขยายขอบเขตการตีความอย่างกว้างขวาง<ref name="CMU"/>{{rp|6}} ย้ายบทบัญญัติดังกล่าวไปอยู่ในมาตรา 112 ของประมวลกฎหมายฉบับใหม่ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงให้ความผิดต่อพระมหากษัตริย์เป็นความผิดต่อความมั่นคงของชาติด้วย<ref name="Connors">{{cite book |last= Connors |first= Michael Kelly |date= 2003 |title= Democracy and National Identity in Thailand |url= |location= |publisher= RoutledgeCurzon |page= |isbn= 0-203-36163-6 |author-link= }}</ref>{{rp|133}} ตัดสิทธิในการแสดงความคิดเห็นที่อาจดูหมิ่นพระมหากษัตริย์ได้หากเป็นไปตามเจตจำนงของรัฐธรรมนูญ<ref name="CMU"/>{{rp|6}}
 
กระนั้นคำวินิจฉัยของศาลในระยะแรกหลังเปลี่ยนแปลงยังนำบริบทมาพิจารณาด้วย มิใช่พิจารณาจากตัวข้อความอย่างเดียว ในเดือนธันวาคม 2500 ศาลพินิจว่าคดีที่ส่งศักดิ์ สายปัญญา ผู้สมัครพรรคประชาธิปัตย์ เป็นจำเลยนั้นไม่เป็นความผิด เพราะอยู่ในช่วงการหาเสียงเลือกตั้งย่อมมีการกล่าวหาทำลายกัน<ref name="นพพล"/>{{rp|32–3}}
 
[[File:การยกเลิกมาตรา 112 ปี 2519.png|thumb|คำสั่งจากคณะรัฐประหารให้เหตุผลในการเพิ่มโทษจากจำคุกสูงสุด 7 ปี เป็นจำคุกต่ำสุด 3 ปี และสูงสุด 15 ปี]]
 
หลังวันที่เกิด[[เหตุการณ์ 6 ตุลา]]และ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519]]เพียงสองอาทิตย์ คณะรัฐประหารให้เหตุผลในการแก้ไขกฎหมายนั้นว่าไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในขณะนั้น จึงแก้ไขกฎหมายให้มีโทษสูงขึ้น โดยเพิ่มจากจำคุกสูงสุด 7 ปี เป็นจำคุกต่ำสุด 3 ปี และสูงสุด 15 ปี และขยายขอบเขตของความผิด "หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ"<ref>{{cite journal |author=Colum Murphy |year=2006 |month=September |title=A Tug of War for Thailand’s Soul |journal=Far Eastern Economic Review |accessdate=26 September 2007}}</ref> [[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]]ยังตีความว่า กฎหมายห้ามครอบคลุมถึงการวิจารณ์โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สถาบันพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์จักรีและพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์<ref name=reinteprete>{{cite journal |author=David Streckfuss |title=Kings in the Age of Nations: The Paradox of Lèse-Majesté as Political Crime in Thailand |journal=Comparative Studies in Society and History|volume=33 |issue=3 |pages=445–475}}</ref> ทั้งนี้ประเทศไทยเป็นประเทศ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]ประเทศเดียวที่เพิ่มโทษของความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ยกเว้นเพียง[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง<ref name="David"/>{{rp|115–116}}
 
ประมาณพุทธทศวรรษ 2520 เมื่อฐานพระราชอำนาจได้เติบโตขึ้นในหมู่[[ชนชั้นกลาง]]ในเมือง มีการสร้างความสัมพันธ์แบบญาติและความใกล้ชิดระหว่างพลเมืองกับพระมหากษิตริย์ ("พ่อ") ตลอดจนสถานะอันล่วงละเมิดมิได้สมัยใหม่<ref name="นพพล"/>{{rp|37–8}} นับแต่นั้น คำวินิจฉัยของศาลและการตีความของนักวิชาการกฎหมายได้เปลี่ยนจากพระมหากษัตริย์ทรงเป็นกลางทางการเมืองมาเป็นพระมหากษัตริย์ไม่สามารถถูกวิจารณ์ได้ไม่ว่ากรณีใด ๆ<ref name="นพพล"/>{{rp|38–9}} ในพุทธทศวรรษ 2530 ยังมีนักวิชาการเริ่มตีความว่าประชาชนและพระมหากษัตริย์เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยร่วมกันอีกด้วย<ref name="นพพล"/>{{rp|36}}
 
สังเกตว่าได้เกิดปรากฏการณ์ที่สื่อมวลชน บุคคลทั่วไป หรือแม้แต่ในคำพิพากษาของศาล มักใช้ถ้อยคำในการกล่าวถึงการกระทำของผู้ถูกกล่าวหาในข้อหามาตรา 112 ที่ไม่ได้เป็นการกระทำที่ระบุไว้ในกฎหมาย (หมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้าย) เช่น ล่วงเกิน, จาบจ้วง, ลบหลู่, อาจเอื้อม, ก้าวล่วง, ย่ำยี, ลามปาม, ขาดความเคารพสักการะ, มิบังควร, ไม่เทิดทูน, หมิ่นเหม่, กระทบกระทั่ง, ไม่เหมาะสม เป็นต้น<ref name="นพพล"/>{{rp|38}} ตัวอย่างที่ศาลพิเคราะห์ว่า "ดูหมิ่น" เช่น คำปราศรัยหาเสียงของ[[วีระ มุสิกพงศ์]] ในปี 2531 ตอนหนึ่งว่า "ถ้าผมเลือกเกิดเองได้ ผมจะไปเลือกเกิดทำไมเป็นลูกชาวนาจังหวัดสงขลา จะไปเลือกเกิดอย่างนั้นทำไม ถ้าเลือกเกิดได้ก็เลือกเกิดมันใจกลางพระบรมมหาราชวังนั่น ออกมาเป็นพระองค์เจ้าวีระซะก็หมดเรื่อง ไม่จำเป็นต้องออกมายืนตากแดดพูดให้พี่น้องฟัง เวลาอย่างนี้เที่ยงๆ ก็เข้าห้องเย็น เสวยเสร็จก็บรรทมไปแล้ว ตื่นอีกที่ก็บ่ายสามโมง" ซึ่งศาลเห็นว่าเป็นการ "กล่าววาจาจาบจ้วงล่วงเกิน เปรียบเทียบเปรียบเปรยหรือเสียดสีให้เป็นที่ระคายเคืองต่อเบื้องพระยุคลบาท" หรือกรณีบุคคลใช้ผ้าพันคอ[[ลูกเสือชาวบ้าน]]มาเช็ดโต๊ะในปี 2519<ref name="Connors"/>{{rp|134}}
 
=== ในยุควิกฤตการเมือง ===
{| class="wikitable floatright" width=20%
|+ | คดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย ปี 2550–60<ref name="iLaw">{{cite web|title=List of individuals charged with Article 112 of the Criminal Code (lèse majesté)|url=https://freedom.ilaw.or.th/en/content/charges-against-individuals-after-2014-coup|website=iLAW|accessdate=17 November 2017}}</ref>
|-
! ปี !! จำนวนคดี
|-
|2550 || 36
|-
|2551 ||55
|-
|2552 ||104
|-
|2553 ||65
|-
|2554 ||37
|-
|2555 ||25
|-
|2556 ||57
|-
|2557 ||99
|-
|2558 ||116
|-
|2559 ||101
|-
|2560 {{small|(9 เดือน)}}|| 45
|}
 
[[ไฟล์:Thai-coup-detat-2014-social-media-banner.jpg|thumb|right|250px|แผ้นป้ายในกรุงเทพมหานครแจ้งว่าให้งด "ถูกใจ" หรือ "แบ่งปัน" ภาพหรือเนื้อหาในสื่อสังคมเพื่อ "ร่วมกันปกป้องสถาบัน[พระมหากษัตริย์]"]]
 
ตั้งแต่ปี 2533 ถึง 2548 ระบบศาลไทยมีคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยเพียงสี่หรือห้าคดีต่อปี ทว่า ระหว่างเดือนมกราคม 2549 ถึงพฤษภาคม 2554 มีการพิจารณากว่า 400 คดี หรือประเมินว่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1,500<ref name="increase"/> ผู้สังเกตการณ์ให้เหตุผลถึงการเพิ่มขึ้นดังกล่าวว่า เกิดจากการแยกเป็นสองขั้วเพิ่มขึ้นหลัง[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหารปี 2549]] และความละเอียดอ่อนต่อพระพลานามัยที่เสื่อมลงของพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระชราภาพ<ref name="increase">{{cite news |url=https://www.mcall.com/sdut-thailand-arrests-american-for-alleged-king-insult-2011may27-story.html |title=Thailand arrests American for alleged king insult |author=Todd Pitman and Sinfah Tunsarawuth |date=27 March 2011 |agency=Associated Press |accessdate=27 May 2011}}</ref> ทั้งนี้แม้ว่า[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]ทรงมีพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2548 พาดพิงถึงผู้ที่พระองค์ทรงขอมิให้มองข้ามธรรมชาติมนุษย์ของพระองค์ก็ตาม<ref name="wrong">{{cite web |date=5 December 2005 |url=http://www.nationmultimedia.com/2005/12/05/headlines/data/headlines_19334288.html|title=Royal Birthday Address: 'King Can Do Wrong'|publisher=National Media|accessdate=26 September 2007}}</ref>
 
ช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ นักการเมืองพรรคไทยรักไทยและพรคประชาธิปัตย์ ตลอดจนขบวนการต่อต้านรัฐบาล [[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] ต่างฟ้องคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยใส่กัน<ref name="David"/>{{rp|124}} ในรัฐประหารปี 2549 คณะรัฐประหารอ้างเหตุความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ของ[[ทักษิณ ชินวัตร]] อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นสาเหตุหนึ่ง<ref name="murphy">{{cite journal |author=Colum Murphy |date=September 2006 |title=A Tug of War for Thailand's Soul |journal=Far Eastern Economic Review}}</ref><ref name="protlaw">{{cite journal |author=Julian Gearing |date=3 December 1999 |url=http://www-cgi.cnn.com/ASIANOW/asiaweek/magazine/99/1203/soc.thailand.lesemajeste.html |title=A Protective Law: It's called lèse-majesté, and it is taken seriously |journal=Asiaweek |volume=25 |issue=48 |access-date=2020-07-30 |archive-date=2014-09-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20140905214129/http://www-cgi.cnn.com/ASIANOW/asiaweek/magazine/99/1203/soc.thailand.lesemajeste.html |url-status=dead }}</ref><ref name="turkish">{{cite web |date=19 September 2006 |url=http://www.turkishpress.com/news.asp?id=142951 |title=Thai coup leader says new PM within two weeks |publisher=TurkishPress |accessdate=26 September 2007 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070930181828/http://www.turkishpress.com/news.asp?id=142951 |archive-date=30 September 2007 |url-status=dead }}</ref><ref name="worldnotes">{{cite web |date=15 September 1986 |url=http://jcgi.pathfinder.com/time/magazine/article/0,9171,962326,00.html |title=World Notes Thailand |work=Time |accessdate=26 September 2007 |archive-date=2007-06-20 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070620163553/http://jcgi.pathfinder.com/time/magazine/article/0,9171,962326,00.html |url-status=dead }}</ref> หลังจากนั้น มีคำสั่งปิดสถานีวิทยุหลายสิบแห่งด้วยข้อหาดังกล่าว<ref>Reporters Without Borders, [http://en.rsf.org/thailande-lese-majeste-charge-used-to-02-05-2011,40121.html Lèse-majesté charge used to crack down on opposition media] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160304064442/http://en.rsf.org/thailande-lese-majeste-charge-used-to-02-05-2011,40121.html |date=2016-03-04 }}, 2 May 2011</ref>
 
ก่อนหน้ารัฐประหารปี 2549 จำเลยของคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ส่วนใหญ่เป็นนักการเมือง ข้าราชการระดับสูงและบุคคลนอกรัฐธรรมนูญ แต่หลังปี 2550 มีบุคคลทั่วไปถูกฟ้องร้องด้วยเป็นจำนวนมาก<ref name="David"/>{{rp|124}} นอกจากนี้ก่อนหน้าปี 2550 ไม่มีจำเลยคนใดได้รับโทษจำคุกเกิน 10 ปี และยิ่งเวลาผ่านไป โทษยิ่งหนักขึ้นเรื่อย ๆ<ref name="นพพล"/>{{rp|40–1}} แนวทางการพิจารณาคดีมาตรา 112 ในระยะหลังชัดเจนว่าใช้อุดมการณ์[[นิยมเจ้า]]และ[[ชาตินิยม]]เข้ามาตีความมากขึ้นเรื่อย ๆ เช่น พรรณนาความประวัติศาสตร์ชาติไทย อ้างอิงพระราชกรณียกิจ เชื่อมโยงเข้ากับความเป็นไทย และความรู้สึกของประชาชนภายในชาติ<ref name="นพพล"/>{{rp|42}}
 
มีนักวิชาการถูกสอบสวน จำคุกหรือถูกบังคับให้ลี้ภัยจากความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ ในปี 2550 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์ จากคณะอักษรศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] เป็นผู้ต้องหาหลังออกข้อสอบว่า สถาบันพระมหากษัตริย์จำเป็นต่อสังคมไทยหรือไม่ และสถาบันพระมหากษัตริย์สามารถปฏิรูปให้เข้ากับระบบประชาธิปไตยได้หรือไม่<ref>[http://article112.blogspot.com/2011/03/blog-post_6472.html กรณีบุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์], 30 มีนาคม พ.ศ. 2554</ref> [[สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล]] นักประวัติศาสตร์ ถูกจับหลังเสนอแผนแปดข้อว่าด้วยการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์<ref>[http://www.seapabkk.org/alerts/100447-seapa-alert-thai-history-professor-faces-lese-majeste-complaint.html SEAPA Alert: Thai history professor faces lèse majesté complaint] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120419152445/http://www.seapabkk.org/alerts/100447-seapa-alert-thai-history-professor-faces-lese-majeste-complaint.html |date=2012-04-19 }}, 10 May 2011</ref><ref>''Bangkok Post'', [http://www.bangkokpost.com/news/local/233524/intellectuals-join-somsak-to-defend-stance Intellectuals join Somsak to defend stance], 24 April 2011</ref> รองศาสตราจารย์ [[ใจ อึ๊งภากรณ์]]ลี้ภัยหลังหนังสือ ''[[A Coup for the Rich]]'' ของเขาตั้งคำถามถึงบทบาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในรัฐประหารเมื่อปี 2549<ref>[http://www.guardian.co.uk/world/2009/feb/09/professor-thailand-charged-king British professor flees Thailand after charge of insulting king], 9 February 2009</ref> ในเดือนมีนาคม 2554 มีการตั้ง[[กลุ่มนิติราษฎร์]] โดยมุ่งแก้ไขกฎหมายดังกล่าว ทำให้ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 [[วรเจตน์ ภาคีรัตน์]] สมาชิกกลุ่มคนหนึ่ง ถูกทำร้ายร่างกายกลางวันแสก ๆ ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<ref name="Sinfah">{{Citation |author=Sinfah Tunsarawuth |url=http://ioc.sagepub.com/content/41/3/103.extract |title=Royal Chill |journal=Index on Censorship |volume=41 |date=September 2012 |pages=103–107 |doi=10.1177/0306422012456809}}</ref>
 
รายงานประจำปี 2557 ของ[[ฮิวแมนไรท์วอตช์]] ว่า แม้การจับกุมและพิพากษาลงโทษฐานความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยจะลดลงมากในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ แต่หน่วยงานราชการต่าง ๆ ยังมีการใช้กฎหมายดังกล่าวร่วมกับพระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี ผู้ถูกตั้งข้อหานี้มักไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัว และถูกคุมขังในเรือนจำหลายเดือนก่อนมีการไต่สวนในชั้นศาล และคำพิพากษาส่วนใหญ่เป็นการลงโทษอย่างรุนแรง<ref name=hrw2014/> ยิ่งลักษณ์ว่ารัฐบาลตนจะไม่ปฏิรูปกฎหมายนี้<ref name=BP115>{{cite web |url=http://www.bangkokpost.com/news/politics/292743/ampon-team-of-lawyers-say-their-best-not-good-enough |title=Ampon team of lawyers say their best 'not good enough' |author=Achara Ashayagachat |date=11 May 2012 |work=Bangkok Post |accessdate=11 May 2012}}</ref>
 
หลังรัฐประหารปี 2557 [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]ให้อำนาจศาลทหารดำเนินคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย<ref>"[http://www.prachatai.com/english/node/4021 All crimes involving alleged lèse-majesté, sedition subjected to Military Court: Thai Coup makers]", 25 May 2014. ''Prachatai English''. Accessed 11 September 2016.</ref> ศาลทหารลงโทษหนักกว่าศาลพลเรือนอยู่เป็นนิจ ในเดือนสิงหาคม 2558 ศาลทหารลงโทษจำคุกพงษ์ศักดิ์ ศรีบุญเพ็งสำหรับการโพสต์เฟซบุ๊ก 6 กระทง รวม 60 ปี ลดโทษเหลือกึ่งหนึ่งเพราะจำเลยรับสารภาพ นับเป็นโทษจำคุกยาวนานที่สุดสำหรับความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย<ref>{{cite news|title=Running Afoul of the Thai Monarchy|url=https://www.nytimes.com/interactive/2015/09/18/world/asia/thailand-king-lese-majeste.html|work=New York Times|accessdate=22 September 2015}}</ref><ref>{{cite web|title=Thailand: UPR Submission 2015|url=https://www.hrw.org/news/2015/09/21/thailand-upr-submission-2015|website=Human Rights Watch|accessdate=22 September 2015|date=2015-09-21}}</ref> ทั้งนี้รัฐบาลทหารไม่ประสบความสำเร็จในการขอส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนผู้ต้องหาในความผิดดังกล่าวจากต่างประเทศเลย<ref>[http://www.khaosodenglish.com/politics/2015/07/14/1436851966/ Thai Minister Asks French Diplomat to Extradite Lèse-Majesté Suspects]. ''Khaosod English''.</ref> ไอลอว์ องค์การไม่แสวงผลกำไร รายงานว่ามีการกักขังบุคคลเป็นเวลาสูงสุด 7 วันโดยไม่มีการแจ้งข้อกล่าวหา มีการใช้การพิจารณาคดีลับ มีการยึดอุปกรณ์สือ่สารส่วนบุคคลเพื่อหาหลักฐานด้วย<ref>[http://freedom.ilaw.or.th/en/report/2014/LeseMajeste 2014 Situation Summary Report 2/5: Lèse-majesté cases: One step forward, three steps backward]. iLaw.</ref>
 
ในปี 2558 หนังสือพิมพ์ ''[[ประชาไท]]'' สรุปการกระทำที่มีความผิดในข้อหาความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย เช่น การวาดกราฟิตีในห้องน้ำ ส่งท่าทาง[[ภาษามือ]] ไม่ยืนเคารพเพลง[[สรรเสริญพระบารมี]]ในโรงภาพยนตร์ ฉีกทำลายหรือเหยียบย่ำพระบรมฉายาลักษณ์<ref>{{cite web|url=https:/ุ/www.flickr.com/photos/prachatai/22168436089/|title=Prachatai Infographic 20151021|date=21 October 2015|publisher=|accessdate=1 May 2019|via=Flickr}}</ref> มีนางพยาบาลที่แต่งชุดดำในวันคล้ายวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรถูกฟ้องคดีด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.prachatai.com/english/node/4584|title=3 lèse majesté complaints filed against women wearing black around King's birthday|date=2014-12-10|work=Prachatai English|accessdate=2014-12-11}}</ref>
 
=== รัชกาลที่ 10 : แนวโน้มใหม่ ===
[[ไฟล์:Wanchalerm Save วันเฉลิม.jpg|thumb|upright=1.2|ใบปิดประกาศคนหายของ[[วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์]] ผู้ถูกกล่าวหาความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ ถูก[[การบังคับบุคคลให้สูญหาย|บังคับให้สูญหาย]]ในประเทศกัมพูชาในเดือนมิถุนายน 2563 มีการตั้งข้อสังเกตว่าข้อหาดังกล่าวเป็นเหตุจูงใจ]]
 
ไม่นานหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา (ไผ่ ดาวดิน) ถูกดำเนินคดีฐานแบ่งปันพระราชประวัติของ[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]]ที่เผยแพร่ทางเว็บไซต์สำนักข่าว[[บีบีซีไทย]] เขาเป็นคนเดียวที่ถูกจับ ทั้งที่มีคนแบ่งปันบทความดังกล่าวกว่า 2,600 คนและสำนักข่าวไม่ถูกดำเนินคดี<ref>[http://www.khaosodenglish.com/politics/2016/12/03/activist-pai-dao-din-arrested-lese-majeste/ Activist ‘Pai Dao Din’ Arrested For Lese Majeste]. ''Khaosod English''.</ref> ในเดือนพฤษภาคม 2560 รัฐบาลแถลงว่าแค่การเข้าชมเนื้อหาที่เข้าข่ายความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ก็ถือว่าละเมิดกฎหมายแล้ว<ref>{{cite news|url=https://www.reuters.com/article/us-thailand-insult-idUSKBN18I0WG|title=Thailand extends web controls from composers of illicit content to viewers|website=Reuters|date=2017-05-22|author1=Amy Sawitta Lefevre|author2=Aukkarapon Niyomyat}}</ref>
 
ในปี 2560 มีคดีเผาซุ้มเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเด็กอายุ 14 ปีถูกดำเนินคดีด้วย นับเป็นการดำเนินคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยครั้งแรกต่อผู้เยาว์<ref name="tlhr60">[https://www.tlhr2014.com/?p=5864#pll_switcher 1 ปี การคุมขัง ‘ไผ่ ดาวดิน’ กับสถานการณ์มาตรา 112 ในรอบปี 2560]</ref> คดีที่ประเวศ ประภานุกูล ทนายความ ตกเป็นจำเลยเพราะข้อความในเฟซบุ๊ก เขาต่อสู้คดีโดยไม่ยอมรับกระบวนการยุติธรรม เพราะเห็นว่าศาลกระทำการในพระปรมาภิไธยและขาดความเป็นกลาง<ref name="tlhr60"/> สุลักษณ์ ศิวรักษ์ถูกฟ้องคดีเนื่องจากตั้งคำถามถึงข้อเท็จจริงของยุทธหัตถีของ[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]<ref name="tlhr60"/> และมีหลายกรณีที่ทางการไม่ได้ดำเนินคดี แต่ใช้มาตรการกดดันอย่างอื่นแทน เช่น ควบคุมตัวในค่ายทหาร 7 วัน, ให้ลงนามเอกสารรับเงื่อนไขห้ามเคลื่อนไหวทางการเมือง, ถูกตรวจสอบอุปกรณ์สื่อสาร, ถูกให้กดยกเลิกการติดตาม (Unfollow) เพจต่อหน้าเจ้าหน้าที่ หรือถูกให้พูดต่อหน้ากล้องวีดีโอเพื่อแสดงความจงรักภักดี<ref name="tlhr60"/>
 
ตั้งแต่ปี 2561 ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นองค์การช่วยเหลือด้านกฎหมาย ระบุว่าไม่มีคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ใหม่เท่าที่ทราบ คำสั่งอัยการสูงสุดลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 ออกแนวปฏิบัติใหม่สำหรับการดำเนินคดีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ทำให้บัดนี้[[อัยการสูงสุด (ประเทศไทย)|อัยการสูงสุด]]เป็นผู้ฟ้องคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์แต่ผู้เดียว และในเดือนมิถุนายน 2561 มีการออกระเบียบใหม่ให้อัยการใช้ดุลยพินิจไม่สั่งดำเนินคดีสำหรับกรณีที่จะไม่เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะ<ref name="tlhr">[https://www.tlhr2014.com/?p=10431&lang=en Changes in Thailand’s lèse majesté prosecutions in 2018]</ref> เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ไม่เคยเกิดมาก่อน เช่น ศาลยกฟ้องคดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ทั้งที่จำเลยรับสารภาพแล้ว และผู้ต้องขังได้รับการประกันตัวในบางคดี<ref name="tlhr"/> อย่างไรก็ดี พบว่าทางการนิยมฟ้องตามกฎหมายอื่นแทน เช่น พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และกฎหมายปลุกปั่นให้ขัดขืนอำนาจปกครอง<ref name="tlhr"/> เช่น จากโพสต์ #ขบวนเสด็จ ที่พูดถึงการปิดถนนให้ขบวนเสด็จของพระบรมวงศานุวงศ์ผ่านในปี 2562 ถูกดำเนินคดีตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์<ref>[https://prachatai.com/journal/2020/08/88885 ศาลนัดสอบคำให้การคดีนักกิจกรรมโพสต์ประวัติศาสตร์กษัตริย์ต่าง ปท. และ #ขบวนเสด็จ ก.ย.นี้]</ref>
 
ไม่นานหลังรัฐบาลประกาศจะใช้กฎหมายทุกมาตรากับผู้กระทำผิดระหว่าง[[การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563]] ศาลพิพากษาจำคุกหญิงคนหนึ่ง 43 ปีจากกรณีโพสต์เฟซบุ๊ก<ref>{{cite news |title=Thai woman jailed for record 43 years for criticising monarchy |url=https://www.bbc.com/news/world-asia-55723470 |accessdate=25 January 2021 |work=BBC News |date=19 January 2021}}</ref> ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2564 ศาลไม่ให้ประกันตัวแกนนำผู้ประท้วง<ref>{{cite news |title=เปิดเหตุผลศาล ทำไมถึงไม่ให้ประกันตัว 4 แกนนำ “ราษฎร” |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-56220928 |accessdate=22 March 2021 |work=BBC ไทย |language=th}}</ref> อีกทั้งมีข่าวลือบนสื่อสังคมออนไลน์ว่าประธาน[[ศาลฎีกา]]รับว่ามีคนนอกแทรกแซงการห้ามประกันตัวแกนนำกลุ่มราษฎร<ref>{{cite news |title='โรม'ลั่นข้อกฎหมายทำได้ เชิญประธานศาลฎีกาแจงกมธ. |url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/930349 |accessdate=2 April 2021 |work=กรุงเทพธุรกิจ |language=th}}</ref>
 
== มาตรการ ==