ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.2
บรรทัด 22:
| ผู้พิทักษ์ =[[ทนายความ]] [[เวนิส]] เป็นต้น
}}
'''มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 203-4</ref><ref>[{{Cite web |url=http://www.catholic.or.th/spiritual/books/saints/saintsapr/apr25.html |title=ประวัตินักบุญตลอดปี: นักบุญมาระโก] |access-date=2011-08-11 |archive-date=2009-07-01 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090701122932/http://www.catholic.or.th/spiritual/books/saints/saintsapr/apr25.html |url-status=dead }}</ref> ({{lang-en|Mark the Evangelist}}; {{lang-he|מרקוס}}; {{lang-gr|Μάρκος}}) เป็นหนึ่งใน[[ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน]] อีกสามท่านได้แก่[[มัทธิวผู้นิพนธ์พระวรสาร|มัทธิว]] [[ยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร|ยอห์น]] และ[[ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร|ลูกา]] เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์[[พระวรสารนักบุญมาระโก]]ซึ่งเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของ[[พันธสัญญาใหม่]]และเป็นเพื่อนกับ[[ซีโมนเปโตร]] นักบุญมาระโกได้ร่วมเดินทางกับ[[เปาโลอัครทูต|เปาโล]]และ[[บารนาบัส]]เมื่อนักบุญเปาโลเริ่มเดินทางไปเผยแพร่ศาสนาเป็นครั้งแรก หลังจากที่มีข้อขัดแย้งกัน บารนาบัสก็แยกตัวจากเปาโลโดยเอามาระโกไป[[ประเทศไซปรัส|ไซปรัส]]ด้วย (กิจการของอัครทูต 15:36-40) การแยกตัวครั้งนี้ทำให้เกิด[[พระวรสารนักบุญมาระโก]]ขึ้น ต่อมาเปาโลเรียกตัวมาระโกกลับมา ฉะนั้นมาระโกจึงกลับมาเป็นผู้ติดตามเปาโลอีกครั้ง
 
[[คริสตจักร]][[คอปติกออร์ทอดอกซ์]]ถือว่ามาระโกเป็นผู้วางรากฐานคริสต์ศาสนาใน[[ทวีปแอฟริกา]] เป็นคนแรกที่ดำรงตำแหน่ง[[อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย|บิชอปแห่งอะเล็กซานเดรีย]]