ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎอัยการศึก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
FetteK (คุย | ส่วนร่วม)
FetteK (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การใช้งาน: Typo และเพิ่มเติมรายละเอียดเกี่ยวกับสถิติที่น่าสนใจ พร้อมใส่แหล่งอ้างอิง
บรรทัด 28:
ครั้งที่ ๑ ในสมัยพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรีและผู้บัญชาการทหารบกได้ประกาศใช้กฎอัยการศึกในพื้นที่จังหวัดทหารบกกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๔๗๖ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์กบฏบวรเดช
 
ครั้งที่ ๒ พระบรมราชโองการประกาศใช้กฎอัยการศึกในพื้นที่ ๒๔ จังหวัด ได้แก่ เชียงราย น่าน อุตรดิตถ์เลย ชัยภูมิ อุดรธานี หนองคาย ขอนแก่น นครพนม ร้อยเอ็ด มหาสารคาม สกลนคร นครราชสีมา อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก ระยอง ชลบุรี จันทบุรี และตราด เมื่อวันที่ ๗ มกราคม ๒๔๘๔ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์สงครามอินโดจีน
 
ครั้งที่ ๓ พระบรมราชโองการประกาศใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๘๔ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์สงครามเอเชียบูรพาในสมัยที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี
บรรทัด 46:
ครั้งที่ ๑๐ ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติฉบับที่ ๔ เรื่อง การใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ทําการรัฐประหารยึดอํานาจจากรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
 
ครั้งที่ ๑๑ ประกาศกองทัพภาคที่ ๔ เรื่อง การใช้กฎอัยการศึกในบางเขตพื้นที่ของจังหวัดนราธิวาส เฉพาะอําเภอบาเจาะ อําเภอรือเสาะ อําเภอตากใบ อําเภอสุไหงปาดี อําเภอยี่งอ และอําเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดปัตตานี เฉพาะอําเภอกะพ้อ และจังหวัดยะลา เฉพาะอําเภอรามัน เมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๔๗
 
ครั้งที่ ๑๒ ประกาศกองทัพภาคที่ ๔ เรื่อง การใช้กฎอัยการศึกในบางเขตพื้นที่อําเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส อําเภอเมือง อําเภอควนโดน อําเภอลละงูอําเภอท่าแพอําเภอลละงู อําเภอท่าแพ จังหวัดสตูล อําเภอเมือง อําเภอหนองจิก อําเภอยะหริ่ง อําเภอมายอ อําเภอยะรัง อําเภอแม่ลาน อําเภอสายบุรี อําเภอทุ่งยางแดง อําเภอโคกโพธิ์อําเภอไม้แก่นอําเภอโคกโพธิ์ อําเภอไม้แก่น และอําเภอปะนาแระ จังหวัดปัตตานี อําเภอเมือง และกิ่งอําเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๔๗
 
ครั้งที่ ๑๓ ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้ใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์พลเอกสนธิบุญยรัตกลิน ทําการรัฐประหารรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
บรรทัด 57:
สถิติที่น่าสนใจมีดังต่อไปนี้
 
พื้นที่ที่ใช้กฎอัยการศึกยาวนานที่สุดของประเทศไทยคือ จังหวัดสงขลา เฉพาะ[[อำเภอสะเดา]] โดยประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ถึงวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558 ยาวนานถึง 24 ปี 1 เดือน 8 วัน (ส่วนอำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย ประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ถึงวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2543)<ref>https://www.dnp.go.th/personnel/HRtip/GPF/attach1%20(8).pdf</ref>
 
รองลงมาคือ จังหวัดนราธิวาส เฉพาะอำเภอจะแนะ อำเภอเจาะไอร้อง อำเภอระแงะ อำเภอแว้ง อำเภอศรีสาคร และอำเภอสุคิริน จังหวัดยะลา เฉพาะอำเภอกาบัง อำเภอธารโต อำเภอบันนังสตา อำเภอเบตง และอำเภอยะหา ที่มีการประกาศกฎอัยการศึกตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ถึงวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เป็นระยะเวลา 14 ปี 4 เดือน 26 วัน ดังต่อไปนี้
 
จังหวัดนราธิวาส เฉพาะอำเภอจะแนะ อำเภอระแงะ อำเภอแว้ง อำเภอศรีสาคร และอำเภอสุคิริน
 
(จ.นราธิวาส เฉพาะอำเภอเจาะไอร้อง ประกาศกฎอัยการศึกตั้งแต่วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ถึงวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548)
 
(จ.นราธิวาส เฉพาะอําเภอบาเจาะ อําเภอรือเสาะ อําเภอตากใบ อําเภอสุไหงปาดี อําเภอยี่งอ และอําเภอสุไหงโกลก ประกาศกฎอัยการศึกตั้งแต่วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2547 ถึงวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548)
 
จังหวัดยะลา เฉพาะอำเภอธารโต อำเภอบันนังสตา อำเภอเบตง และอำเภอยะหา
 
(จ.ยะลา เฉพาะอำเภอกาบัง ประกาศกฎอัยการศึกตั้งแต่วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ถึงวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548)
 
(จ.ยะลา เฉพาะอำเภอรามัน ประกาศกฎอัยการศึกตั้งแต่วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2547 ถึงวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548)
 
(จ.ยะลา เฉพาะอำเภอเมือง และกิ่งอำเภอกรงปินัง ประกาศกฎอัยการศึกตั้งแต่วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2547 ถึงวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548)
 
==ดูเพิ่ม==