ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎอัยการศึก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
FetteK (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ในประเทศไทย: เพิ่มเติมการประกาศใช้กฎอัยการศึกในประเทศไทยให้ครบ 14 ครั้ง โดยใส่แหล่งที่มา
บรรทัด 24:
กฎอัยการศึกของไทย มีศักดิ์เทียบเท่ากับ [[พระราชบัญญัติ]] ตราขึ้นครั้งแรกในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อ [[พ.ศ. 2450]] เรียกว่า '''กฎอัยการศึก ร.ศ. 126''' มีทั้งสิ้น 9 มาตรา โดยถอดแบบมาจากกฎอัยการศึกของประเทศฝรั่งเศส ต่อมาใน [[พ.ศ. 2457]] [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงเห็นว่าอำนาจของทหารตามกฎอัยการศึก ร.ศ. 126 นั้นยึดตามแบบฝรั่งเศส แต่ไทยใช้[[ตำราพิชัยสงคราม]]ตามแบบ[[อินเดีย]] ซึ่งไม่สอดคล้องกัน จึงทรงยกเลิกกฎอัยการศึก ร.ศ. 126 และตรา '''กฎอัยการศึก พ.ศ. 2457'''<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2457/A/388.PDF พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พระพุทธศักราช ๒๔๕๗]</ref> ขึ้นใช้แทน มีทั้งสิ้น 17 มาตรา มีการแก้ไขเพิ่มเติมรวม 5 ครั้ง
 
จากการศึกษาข้อมูลทางหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเทศไทยได้มีการประกาศใช้กฎอัยการศึก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จํานวน ๑๔ ครั้ง ดังนี้<ref>https://www.krisdika.go.th/data/activity/act265.pdf</ref>
ราชอาณาจักรไทย ประกาศใช้พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พระพุทธศักราช 2457 ครั้งแรก ในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2476 ถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2476/A/653.PDF</ref>ในกรุงเทพมหานครและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
 
ครั้งที่ ๑ ในสมัยพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรีและผู้บัญชาการทหารบกได้ประกาศใช้กฎอัยการศึกในพื้นที่จังหวัดทหารบกกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๔๗๖ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์กบฏบวรเดช
ครั้งที่ 2 ประกาศใช้ ใน 24 จังหวัด ในวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2484 เวลา 6.00 ถึงวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 <ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/A/664.PDF</ref>
ครั้งที่ 3 ประกาศใช้ทั่วราชอาณาจักร ในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2484 เวลา 20.45 ถึง วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2489<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/007/66.PDF</ref>เป็นการประกาศใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักรยาวนานที่สุดของประเทศไทย
 
ครั้งที่ ๒ พระบรมราชโองการประกาศใช้กฎอัยการศึกในพื้นที่ ๒๔ จังหวัด ได้แก่ เชียงราย น่าน อุตรดิตถ์เลย ชัยภูมิอุดรธานีหนองคาย ขอนแก่น นครพนม ร้อยเอ็ด มหาสารคาม สกลนคร นครราชสีมา อุบลราชธานีศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก ระยอง ชลบุรีจันทบุรีและตราด เมื่อวันที่๗ มกราคม ๒๔๘๔ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์สงครามอินโดจีน
ภายหลัง [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ขึ้นครองราชย์มีการประกาศใช้กฎอัยการศึกหลายครั้ง โดยสถิติที่น่าสนใจมีดังต่อไปนี้
 
ครั้งที่ ๓ พระบรมราชโองการประกาศใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๘๔ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์สงครามเอเชียบูรพาในสมัยที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี
พื้นที่ที่ใช้กฎอัยการศึกยาวนานที่สุดของประเทศไทยคือ [[อำเภอสะเดา]] โดยประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ถึงวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558 ยาวนานถึง 24 ปี 1 เดือน 8 วัน
 
ครั้งที่ ๔ พระบรมราชโองการประกาศใช้กฎอัยการศึกในพื้นที่จังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรีเมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๔๙๔ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันในสมัยที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี
รองลงมาคือ จังหวัดนราธิวาส เฉพาะ อำเภอจะแนะ อำเภอเจาะไอร้อง อำเภอระแงะ อำเภอแว้ง อำเภอศรีสาคร และอำเภอสุคิริน จังหวัดยะลาเฉพาะอำเภอกาบัง อำเภอธารโต อำเภอบันนังสตา อำเภอเบตง และอำเภอยะหา มีการประกาศกฎอัยการศึกตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ถึงวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เป็นระยะเวลา 14 ปี 4 เดือน 26 วัน
 
ครั้งที่ ๕ พระบรมราชโองการประกาศใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๐๐ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์ที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทําการรัฐประหารรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม
มีการประกาศใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ถึง 1 เมษายน พ.ศ. 2558 ยาวนาน 10 เดือน 11 วัน เป็นการประกาศกฎอัยการศึกเป็นระยะเวลายาวนานที่สุดนับตั้งแต่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ขึ้นครองราชย์
 
ครั้งที่ ๖ ประกาศใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๐๑ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทําการรัฐประหารรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งในขณะนั้น
การยกเลิกการบังคับใช้กฎอัยการศึกในพื้นที่ใด จะต้องประกาศออกมาเป็นพระบรมราชโองการ
 
ครั้งที่ ๗ ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒ ให้ใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักรเมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๔ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์จอมพลถนอม กิตติขจร ทําการรัฐประหารยึดอํานาจตนเอง
 
ครั้งที่ ๘ คําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ ๑ ให้ใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์ที่พลเรือเอกสงัด ชะลออยู่ ได้ดําเนินการปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
 
ครั้งที่ ๙ ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒ ให้คงใช้กฎอัยการศึกตามประกาศของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ ๑ อยู่ต่อไป เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๒๐ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์พลเรือเอกสงัด ชะลออยู่ ทําการรัฐประหารรัฐบาลในขณะนั้น
 
ครั้งที่ ๑๐ ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติฉบับที่ ๔ เรื่อง การใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ทําการรัฐประหารยึดอํานาจจากรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
 
ครั้งที่ ๑๑ ประกาศกองทัพภาคที่ ๔ เรื่อง การใช้กฎอัยการศึกในบางเขตพื้นที่ของจังหวัดนราธิวาส เฉพาะอําเภอบาเจาะ อําเภอรือเสาะ อําเภอตากใบ อําเภอสุไหงปาดีอําเภอยี่งอ และอําเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดปัตตานีเฉพาะอําเภอกะพ้อ และจังหวัดยะลา เฉพาะอําเภอรามัน เมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๔๗
 
ครั้งที่ ๑๒ ประกาศกองทัพภาคที่ ๔ เรื่อง การใช้กฎอัยการศึกในบางเขตพื้นที่อําเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส อําเภอเมือง อําเภอควนโดน อําเภอลละงูอําเภอท่าแพ จังหวัดสตูล อําเภอเมือง อําเภอหนองจิก อําเภอยะหริ่ง อําเภอมายอ อําเภอยะรัง อําเภอแม่ลาน อําเภอสายบุรี อําเภอทุ่งยางแดง อําเภอโคกโพธิ์อําเภอไม้แก่น และอําเภอปะนาแระ จังหวัดปัตตานีอําเภอเมือง และกิ่งอําเภอกรงปินัง จังหวัดยะลาเมื่อวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๔๗
 
ครั้งที่ ๑๓ ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้ใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์พลเอกสนธิบุญยรัตกลิน ทําการรัฐประหารรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
 
ครั้งที่ ๑๔ ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติฉบับที่ ๒/๒๕๕๗ เรื่องการประกาศใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ดําเนินการเข้าควบคุมอํานาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗
 
 
สถิติที่น่าสนใจมีดังต่อไปนี้
 
พื้นที่ที่ใช้กฎอัยการศึกยาวนานที่สุดของประเทศไทยคือ จังหวัดสงขลา เฉพาะ[[อำเภอสะเดา]] โดยประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ถึงวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558 ยาวนานถึง 24 ปี 1 เดือน 8 วัน
 
รองลงมาคือ จังหวัดนราธิวาส เฉพาะ อำเภอจะแนะ อำเภอเจาะไอร้อง อำเภอระแงะ อำเภอแว้ง อำเภอศรีสาคร และอำเภอสุคิริน จังหวัดยะลา เฉพาะอำเภอกาบัง อำเภอธารโต อำเภอบันนังสตา อำเภอเบตง และอำเภอยะหา มีการประกาศกฎอัยการศึกตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ถึงวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เป็นระยะเวลา 14 ปี 4 เดือน 26 วัน
 
==ดูเพิ่ม==
เส้น 54 ⟶ 75:
 
==อ่านเพิ่ม==
* วรชัย แสนสีระ, “จุดต่างแห่งอํานาจตามพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก, พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายใจราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๗”, จุลนิติ พ.ค. – มิ.ย. ๒๕๕๓, หน้า ๑๒๙ – ๑๓๑
* Macomb, Alexander, Major General of the United States Army, [https[iarchive://archive.org/details/bub_gb_sl4NAAAAIAAJ |''The Practice of Courts Martial'']], (New York: Harper & Brothers, 1841) 154 pages.
* [[Alexander Macomb (American general)|Macomb, Alexander]], [[Commanding General of the United States Army|Major General]] of the [[United States Army]], [https://books.google.com/books?id=uuxhjlFF4Q8C ''A Treatise on Martial Law, and Courts-Martial as Practiced in the United States'']. (Charleston: J. Hoff, 1809), republished (New York: Lawbook Exchange, 2007). {{ISBN|978-1-58477-709-0}}.
* {{cite book | title=All the Laws but One: Civil Liberties in Wartime | author=Rehnquist, William H. | author-link=William Rehnquist | year=1998 | location=New York | publisher=William Morrow & Co | isbn=0-688-05142-1 | url-access=registration | url=https://archive.org/details/grandinquestshis00rehn_0 }}