ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แรงดันไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
 
บรรทัด 24:
แรงดันไฟฟ้าเป็นพลังงานศักย์ไฟฟ้าต่อหน่วยประจุ มีหน่วยวัดเป็นจูลต่อคูลอมบ์ (= โวลต์) มันก็มักจะหมาย ถึง "ศักย์ไฟฟ้า" ด้วยเช่นกัน ซึ่งมันจะต้องแตกต่างจากพลังงานศักย์ไฟฟ้าโดยการสังเกตว่า "ศักย์" เป็นปริมาณ "ต่อหน่วยประจุ" เช่นเดียวกับพลังงานศักย์กล ศักย์ที่เป็นศูนย์สามารถถูกเลือกที่จุดใด ๆ ก็ได้ ดังนั้นความแตกต่างในแรงดันไฟฟ้าเป็นปริมาณที่มีความหมายทางกายภาพ ความแตกต่างในแรงดันไฟฟ้าที่วัดได้เมื่อมีการเคลื่อนที่จากจุด A ไปยังจุด B จะเท่ากับงานที่จะต้องทำ ต่อหน่วยประจุ ต้านกับสนามไฟฟ้าที่จะเคลื่อนย้ายประจุจาก A ไป B. แรงดันไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองข้างของเส้นทางหนึ่งเป็นพลังงานทั้งหมดที่จำเป็นในการเคลื่อนย้ายประจุไฟฟ้าขนาดเล็กไปตามเส้นทางนั้น หารด้วยขนาดของประจุ ตามการคำนวณนี้จะถูกแสดงเป็น [[เส้นผลรวม]] ของ [[สนามไฟฟ้า]] และอัตราเวลาของการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กไปตามเส้นทางนั้น ในกรณีทั่วไปทั้งสนามไฟฟ้าแบบคงที่ (ไม่เปลี่ยนแปลง) และสนามแม่เหล็กไฟฟ้าแบบไดนามิก (เปลี่ยนตามเวลา) จะต้องถูกรวมอยู่ในการกำหนดแรงดันไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด
 
ในอดีตปริมาณนี้ยังได้ถูกเรียกว่า "tension" <ref>{{Cite encyclopedia | title = Tension | url = http://www.collinslanguage.com/results.aspx?context=3&reversed=False&action=define&homonym=0&text=tension | encyclopedia = CollinsLanguage | access-date = 2019-06-14 | archive-date = 2011-11-21 | archive-url = https://web.archive.org/web/20111121101506/http://www.collinslanguage.com/results.aspx?context=3&reversed=False&action=define&homonym=0&text=tension | url-status = dead }}</ref> และ "pressure" pressure ในขณะนี้ล้าสมัยไปแล้ว แต่ tension ยังคงใช้อยู่ ตัวอย่างเช่นในวลี "[[ไฟฟ้าแรงสูง|high tension]]" (HT) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้ในด้านอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับ thermionic วาล์ว ([[หลอดสุญญากาศ]])
 
แรงดันไฟฟ้าถูกกำหนดเพื่อให้วัตถุที่มีประจุลบถูกดึงไปทาง​​แรงดันไฟฟ้าที่สูงกว่า ในขณะที่วัตถุที่มีประจุบวกจะถูกดึงไปทาง​​แรงดันไฟฟ้าที่ต่กว่า ดังนั้น [[กระแสไฟฟ้า|กระแสตามธรรมเนียมปฏิบัติ]] ({{lang-en|conventional current}}) ในลวดหรือ [[ตัวต้านทาน]] มักจะไหลจากแรงดันไฟฟ้าที่สูงกว่าไปยังแรงดันไฟฟ้าที่ต่ำกว่า กระแสสามารถจะไหลจากแรงดันไฟฟ้าที่ต่ำกว่าไปสู่แรงดันไฟฟ้าที่สูงขึ้นได้ แต่เฉพาะเมื่อ [[แรงเคลื่อนไฟฟ้า|แหล่งจ่ายพลังงาน]] จะปรากฏเพื่อ "ผลัก" มันต้านกับสนามไฟฟ้าฝ่ายตรงข้าม ยกตัวอย่างเช่นภายใน [[แบตเตอรี่ (ไฟฟ้า)|แบตเตอรี่]] ปฏิกิริยาเคมีให้พลังงานที่จำเป็นสำหรับกระแสให้ไหลจากขั้วลบไปขั้วบวก