ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่เหล็ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chayapatt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:VFPt cylindrical magnet big.svg|thumb|รูปแสดงเส้นแรงแม่เหล็กจากขั้วเหนือไปขั้วใต้ บริเวณที่แรงนี้ส่งไปถึง เรียกว่าสนามแม่เหล็ก]]
'''แม่เหล็ก''' เป็น[[แร่]]หรือ[[โลหะ]]ที่มีสมบัติดูด[[เหล็ก]]ได้<ref>[http://rirs3.royin.go.th/] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090302235916/http://rirs3.royin.go.th/ |date=2009-03-02 }}, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒</ref> ในประวัติศาสตร์ พบว่า สาร Magnesian stone ([[หินแมกแนเซียน]]) เป็นวัตถุที่ดูดเหล็กได้ แม่เหล็ก (มาจากภาษากรีก {{lang|grc|[[wiktionary:μαγνήτις|μαγνήτις]] [[wiktionary:λίθος|λίθος]]}} ''{{transl|grc|[[wiktionary:magnḗtis|magnḗtis]] [[wiktionary:líthos|líthos]]}}'')
แม่เหล็กสามารถทำให้เกิด[[สนามแม่เหล็ก]]ได้ นั่นคือมันสามารถส่งแรงดูดหรือแรงผลัก ออกไปรอบ ๆ ตัวมันได้ แม้ว่าสนามแม่เหล็กจะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นได้แต่มันเป็นเกี่ยวข้องกับคุณสมบัติสำคัญของแม่เหล็กโดยตรง ได้แก่ คุณสมบัติการดูดและการผลักกันระหว่างแท่งแม่เหล็ก เราสามารถสร้างแม่เหล็กขึ้นมาได้ วิธีแรกคือ นำเหล็กมาถูกับแม่เหล็ก วิธีที่สองคือ ป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดที่พันรอบเหล็ก แรงเหนี่ยวนำในขดลวดทำให้เหล็กนั้นกลายเป็นแม่เหล็กชั่วคราว และทำให้เกิด สนามแม่เหล็กรอบ ๆ เหล็กนั้น<ref>[{{Cite web |url=http://www.kr.ac.th/tech/det48m2/word05.htm |title=แม่เหล็กและแม่เหล็กโลก] |access-date=2011-12-21 |archive-date=2015-09-22 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150922025602/http://www.kr.ac.th/tech/det48m2/word05.htm |url-status=dead }}</ref> เราเรียกแม่เหล็กแบบนี้ว่า [[แม่เหล็กไฟฟ้า]] ปัจจุบัน มีสารอื่นที่ทำให้เป็นแม่เหล็กได้ เช่น นิเกิล โคบอล แมงกานีส
[[ไฟล์:Magnet0873.png|thumb|รูปแสดงการเรียงตัวของผงตะไบเหล็กในสนามแม่เหล็ก]]