ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหยี่ยว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MdsShakil (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by 2001:FB1:EB:C26F:F9CE:2DC7:3107:A77C (talk) to last version by 171.100.241.180
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 2 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 18:
'''เหยี่ยว''' หรือ '''อีเหยี่ยว'''<ref name= "บรรจบ">บรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร์. ''ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย''. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2514, หน้า 67</ref> ({{lang-en|falcon, hawk, kite, kestrel}}; [[ภาษาอีสาน|อีสาน]]: แหลว) คือ [[นก]]ในอยู่ใน[[genus|สกุล]] ''Falco''<ref name="itis"/> จัดอยู่ในกลุ่ม[[นกล่าเหยื่อ]]ที่อยู่ในอันดับ [[Falconiformes]] และวงศ์ [[Falconidae]]
 
เหยี่ยวมีลักษณะคล้ายกับ[[อินทรี]] ซึ่งเป็นนกล่าเหยื่อเช่นเดียวกัน แต่เหยี่ยวมีขนาดเล็กกว่า คือมีจะงอยปากที่งองุ้ม มีกรงเล็บที่แหลมคมและแข็งแรง บินได้อย่างรวดเร็ว กางปีกได้กว้างและยาว สามารถบินหรือเหินได้สูง และมีสายตาที่ดีมาก อาหารโดยทั่วไปของเหยี่ยว คือ [[สัตว์]]ขนาดเล็กกว่าต่าง ๆ เช่น [[สัตว์ฟันแทะ]], [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ต่าง ๆ, [[สัตว์เลื้อยคลาน]], [[สัตว์น้ำ]] เช่น [[ปลา]] หรือ[[กุ้ง]] หรือแม้แต่สัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่าได้ เช่น [[กวาง]] เป็นต้น<ref>[{{Cite web |url=http://www.skn.ac.th/skl/skn43/eagle05/hawk.htm |title=เหยี่ยว] |access-date=2012-02-08 |archive-date=2012-12-01 |archive-url=https://web.archive.org/web/20121201003147/http://www.skn.ac.th/skl/skn43/eagle05/hawk.htm |url-status=dead }}</ref> <ref>{{cite web|url=http://guru.sanook.com/search/%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7/|title=เหยี่ยว |work=[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]}}</ref>
 
นอกจากสกุล ''Falco'' แล้ว ยังมีนกในสกุลอื่น แต่อยู่ในวงศ์เดียวกันที่เรียกว่าเหยี่ยวได้ เช่น ''[[Haliastur]]'', ''[[Elanus]]'', ''[[อินทรีทะเล|Haliaeetus]]'' และ''[[Microhierax]]'' (ซึ่งบางครั้งอาจเรียกเป็นอินทรี) เป็นต้น<ref>{{cite web|url=http://www.oknation.net/blog/print.php?id=623277|title= นักฆ่าผู้น่ารัก...|work=[[โอเคเนชั่น]]}}</ref>
บรรทัด 26:
และยังมีอีกชนิดหนึ่ง คือ [[เหยี่ยวออสเปร]] (''Pandion haliaetus'') ซึ่งเป็นนกที่มี[[วิวัฒนาการ]]เป็นของตัวเอง มีวงศ์และสกุลของตัวเองต่างหาก<ref>Osprey". Online Etymology Dictionary. http://www.etymonline.com/index.php?term=osprey. เรียกข้อมูลเมื่อ 2007-06-29.</ref>
 
จากความที่เป็นนกล่าเหยื่อ และมีขนาดลำตัวที่ไม่ใหญ่นัก เหยี่ยวจึงถูก[[มนุษย์]]ใช้เลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]มาแล้วนานกว่า 2,000 ปี<ref>[{{Cite web |url=http://sfc-thai.clubme.net/t2-topic |title=Siam Falconry club] |access-date=2012-02-08 |archive-date=2011-03-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110325070005/http://sfc-thai.clubme.net/t2-topic |url-status=dead }}</ref> เพื่อใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น [[ล่าสัตว์]], เพื่อความเพลิดเพลิน หรือแม้แต่ใช้ในการไล่[[นก]]ชนิดอื่น ๆ ใน[[สนามบิน]]หรือชุมชน[[เมือง]]บางแห่ง<ref>{{cite web|url=http://archive.voicetv.co.th/content/5857|title= พญาเหยี่ยวแห่งคาซัคสถาน |work=[[วอยซ์ทีวี]]}}{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> <ref>{{cite web|url=http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/35860.html|title= ประดิษฐ์เหยี่ยวหุ่นยนต์ไล่นกที่สนามบิน |work=[[สำนักข่าวไทย]]}}{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
 
ในความเชื่อของชาวเล ซึ่งเป็นชนชาติปฐมภูมิทางภาคใต้ของไทยตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เชื่อว่าเหยี่ยวเป็นวิญญาณบรรพบุรุษที่ช่วยนำทางไปสู่ปลา เป็นสัตว์ที่ช่วยในการจับปลา โดยพบเป็นหลักฐานภาพวาดบนผนัง[[ถ้ำผีหัวโต]] ที่อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ นอกจากนี้แล้วยังเชื่อด้วยว่าเหยี่ยวจะเป็นเครื่องนำทางวิญญาณของผู้เสียชีวิตไปสู่โลกหลังความตาย โดยมีเรือเป็นพาหนะ<ref>หน้า ๑๐๘-๑๐๙, ''"คนทะเล" สองพันห้าร้อยปีที่ถ้ำผีหัวโต''. "แลชมสมบัติศิลป์" โดย ภาคภูมิ น้อยวัฒน์. [[อนุสาร อ.ส.ท.]] ปีที่ ๕๗ ฉบับที่ ๘: มีนาคม ๒๕๖๐</ref>