ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่มอสโก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 125:
วันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1941, การรุกตอบโต้กลับสำหรับ "การกำจัดภัยคุกคามมอสโกอย่างทันท่วงที" เริ่มต้นที่แนวรบคาลีนิน. แนวรบตะวันตกเฉียงใต้และแนวรบตะวันตกได้เริ่มการรุกของพวกเขาในวันถัดไป. ภายหลังหลายวันของความคืบหน้า, กองทัพโซเวียตเข้ายึดครอง Solnechnogorsk กลับคืนมา วันที่ 12 ธันวาคม และคลิน วันที่ 15 ธันวาคม. กองทัพของกูเดรีอัน"ถูกโจมตีจนต้องรีบล่าถอยไปยังเวเนฟ" และจากนั้นที่ Sukhinichi "ภัยคุกคามที่ครอบคลุมตูลาได้ถูกกำจัดหมดสิ้นไป."<ref name=GeorgyZhukov/>{{rp|44–46, 48–51}}<ref>{{Cite book|title=History of the Second World War|publisher=Marshall Cavendish"|pages=29–32}}</ref>
 
วันที่ 8 ธันวาคม,ฮิตเลอร์ได้ลงนามในคำสั่งของเขาที่ 39 โดยสั่งว่าให้แวร์มัคท์ทำการจัดตั้งตำแหน่งการป้องกันในแนวรบทั้งหมด. กองทหารเยอรมันไม่สามารถจัดตั้งแนวป้องกันที่มั่นคงในตำแหน่งที่ตั้งเริ่มต้นและถูกบังคับให้ล่าถอยกลับเพื่อรวบรวมใแนวรบของพวกเขา กูเดรีอันได้บันทึกเกี่ยวกับบทสนทนาของ [[Hans Schmidt (general of the infantry)|Hans Schmidt]] และ [[ว็อล์ฟรัม ฟ็อน ริชท์โฮเฟิน]] ซึ่งเกิดขึ้นในวันเดียวกัน, และผู้บัญชาการทั้งสองได้เห็นพ้องต้องกันว่าไม่สามารถที่จะจัดตั้งแนวหน้าในทันท่วงทีได้.<ref>Guderian, pp. 353–55.</ref> วันที่ 14 ธันวาคม [[ฟรันทซ์ ฮัลเดอร์]] และ[[กึนเทอร์ ฟ็อน คลูเกอ]]ซึ่งในที่สุดก็ได้อนุญาตให้มีการถอนกำลังอย่างจำกัดไปทางตะวันตกของแม่น้ำโอกา โดยปราศจากการอนุมัติของฮิตเลอร์<ref>Guderian, p. 354.</ref><ref>{{Cite web|title=Battle of Moscow|url=https://ww2db.com/battle_spec.php?battle_id=37|access-date=2020-09-28|website=WW2DB}}</ref> วันที่ 20 ธันวาคม, ในช่วงการประชุมของเจ้าหน้าที่นายทหารระดับชั้นสูงของเยอรมัน, ฮิตเลอร์ได้สั่งยกเลิกการถอนกำลังและสั่งให้ทหารของเขาทำการป้องกันพื้นที่ทุกหนแห่ง, "ให้ขุดสนามเพลาะด้วยปอกกระสุนปืนใหญ่ฮาวฮิตเซอร์ถ้าจำเป็น."<ref>Guderian, pp. 360–61.</ref><ref>{{Cite book|last=STAHEL, DAVID.|url=http://worldcat.org/oclc/1132236223|title=RETREAT FROM MOSCOW : a new history of germany's winter campaign 1941-1942.|date=2020|publisher=PICADOR|isbn=978-1-250-75816-3|oclc=1132236223}}</ref> กูเดรีอันได้ประท้วง โดยชี้ให้เห็นว่าการสูญเสียจากความหนาวนั้นมีมากกว่าความสูญเสียจากการสู้รบและอุปกรณ์กันความหนาวนั้นถูกจัดขึ้นโดยระบบการจราจรในโปแลนด์.<ref>Guderian, pp. 363–64.</ref><ref>{{Cite book|last=Bergström"|first=Christer|title=Operation Barbarossa 1941: Hitler Against Stalin|pages=245}}</ref> อย่างไรก็ตาม, ฮิตเลอร์ได้ยืนกรานที่จะปกป้องแนวรบที่มีอยู่, และกูเดรีอันถูกสั่งปลดในวันที่ 25 ธันวาคม, พร้อมกับเฮิพเนอร์และ Strauss, ผู้บัญชาการแห่งกองทัพยานเกราะที่ 4 และกองทัพที่ 9 , ตามลำดับ [[เฟดอร์ ฟ็อน บ็อค]]ยังถูกสั่งปลดอย่างเป็นทางการด้วย"เหตุผลทางการแพทย์" .<ref name="GSEMoscow">Great Soviet Encyclopedia, Moscow, 1973–78, entry "Battle of Moscow 1941–42"</ref> [[วัลเทอร์ ฟ็อน เบราคิทช์]], ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของฮิตเลอร์, ได้ถูกสั่งปลดออกจากตำแหน่งเมื่อก่อนหน้านี้ เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม.<ref name=GeorgyZhukov/><ref name="Guderian 359">Guderian, p. 359.</ref><ref>{{Cite web|title=Walther von Brauchitsch {{!}} German military officer|url=https://www.britannica.com/biography/Walther-von-Brauchitsch|access-date=2020-09-28|website=Encyclopedia Britannica|language=en}}</ref>
 
[[File:Soviet machinegunner opened covering fire.jpg|thumb|left|พลปืนกลโซเวียตคอยยิงคุ้มกันให้แก่การจู่โจมของทหารราบ ใกล้กับตูลา ในพฤศจิกายน ค.ศ. 1941.]]
 
ในขณะเดียวกัน การรุกของโซเวียตยังคงดำเนินต่อไปจากทางเหนือ การรุกครั้งนี้ได้ปลดปล่อยคาลีนินและโซเวียตได้มาถึงคลิน วันที่ 7 ธันวาคม ทำการบุกรุกสู่กองบัญชาการของกองทัพน้อยยานเกราะที่ 56 ด้านนอกของเมือง ในขณะที่แนวรบคาลีนินได้รุกไล่ทางตะวันตก ส่วนตอกลิ่มได้ขยายขึ้นบนบริเวณรอบคลิน ผู้บัญชาการแนวรบโซเวียต อีวาน โคเนฟ พยายามที่จะโอบล้อมกองทัพเยอรมันที่เหลืออยู่ จูคอฟได้หันเหกองกำลังเพิ่มเติมไปทางใต้ของส่วนตอกลิ่ม เพื่อช่วยเหลือโคเนฟในการดักล้อมกองทัพยานเกราะที่สาม เยอรมันได้ดึงกองกำลังของพวกเขาออกมาได้ทันเวลา แม้ว่าการโอบล้อมจะล้มเหลว แต่ก็ได้แบ่งแยกการป้องกันของเยอรมัน ความพยายามครั้งที่สองเพื่อโอบล้อมด้านข้างต่อกองกำลังทางเหนือของกองทัพกลุ่มกลาง แต่ต้องพบกัยการต้านทานที่รุนแรงใกล้กับรเจฟ และถูกบังคับให้ต้องหยุดชะงักลง ได้ก่อตัวขึ้นเป็นส่วนที่ยื่นออกมาจนถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. 1943 ในทางใต้ การรุกก็ได้ผ่านพ้นไปด้วยดี โดยแนวรบตะวันตกเฉียงใต้ได้คลายวงล้อมที่ตูลา วันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ความสำเร็จครั้งสำคัญคือการโอบล้อมและทำลายล้างกองทัพน้อยที่ 35 ของเยอรมัน ซึ่งคอยปกป้องกองกำลังปืกทางใต้ของกองทัพยานเกราะที่สองของกูเดรีอัน<ref>Glantz and House 1995, pp. 88–90.</ref>
{{โครง-ส่วน}}
 
ลุฟท์วัฟเฟอได้เป็นอัมพาตในช่วงครึ่งหลังของเดือนธันวาคม สภาพอากาศซึ่งถูกบันทึกอยู่ที่ –42 องศาเซลเซียส (–44 องศาฟาเรนไฮต์), เป็นบันทึกทางอุตุนิยมวิทยา<ref name="Bergstrom 2003, p. 297">Bergstrom 2003, p. 297.</ref> ปัญหาทางด้านโลจิสติกส์และอุณหภูมิเยือกแข็งทำให้สร้างปัญหาทางเทคนิคจนถึงเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 ในเวลาเดียวกัน ลุฟท์วัฟเฟอแทบจะหายไปจากท้องฟ้าเหนือกรุงมอสโก ในขณะที่[[กองทัพอากาศโซเวียต]] ได้ออกปฏิบัติการจากฐานที่เตรียมพร้อมที่ดีกว่าและได้รับประโยชน์จากแนวรบภายใน ซึ่งแข็งแกร่งมากขึ้น วันที่ 4 มกราคม ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ลุฟท์วัฟเฟอได้เสริมกำลังอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ฮิตเลอร์คาดหวังว่าจะกอบกู้สถานการณ์ได้ ''Kampfgruppen'' (กลุ่มการทิ้งระเบิด) II./KG 4 และ II./KG 30 ซึ่งเกิดขึ้นมาจากการปรับปรุงใหม่ในเยอรมนี ในขณะที่ Transportgruppen(กลุ่มการขนส่ง) ทั้งสี่กลุ่ม ซึ่งมีกำลังรบของเครื่องบินขนส่ง[[ยุงเคิร์ส ยู 52]] จำนวน 102 ลำซึ่งถูกนำมาใช้โดย Luftflotte 4 (กองบินที่ 4) เพื่ออพยพหน่วยกองกำลังทหารที่ถูกโอบล้อมและปรับปรุงสายส่งเสบียงสู่กองกำลังแนวหน้า มันเป็นความพยายามในนาทีสุดท้ายและได้ผล กองกำลังทางอากาศของเยอรมันได้ช่วยเหลือป้องกันไม่ให้กองทัพกลุ่มกลางต้องพินาศย่อยยับ แม้ว่าความพยายามที่ดีของโซเวียต ลุฟท์วัฟเฟอก็ยังมีส่วนสนับสนุนอย่างมหาศาลต่อความอยู่รอดของกองทัพกลุ่มกลาง ระหว่างวันที่ 17 และ 22 ธันวาคม "ลุฟท์วัฟเฟอ"ได้ทำลายยานยนต์ 299 คัน และรถถัง 23 ลำ บริเวณรอบตูลา ซึ่งเป็นการขัดขวางการติดตามไล่ล่ากองทัพเยอรมันของกองทัพแดง<ref>Bergström 2007, pp. 112–13.</ref><ref>Bergström 2003, p. 299.</ref>
== ภายหลังสงคราม ==
 
ในภาคกลาง ความก้าวหน้าของโซเวียตได้ล่าช้ากว่ามาก กองทหารโซเวียตได้ปลดปล่อย[[นาโร-โฟมินสค์]] เพียงในวันที่ 26 ธันวาคม คาลูกา วันที่ 28 ธันวาคม และมาโลยาโรสลัฟซ์ วันที่ 2 มกราคม หลังสิบวันของการสู้รบที่รุนแรง กองกำลังสำรองโซเวียตได้เหลือน้อยลงและการรุกได้หยุดชะงักลง วันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1942 ภายหลังจากทำการผลักดันกองทัพเยอรมันที่กำลังอ่อนล้าและถูกแช่แข็งให้ล่าถอยกลับไปในระยะทาง 100-250 กิโลเมตร(62-155 ไมล์) จากมอสโก สตาลินยังคงออกคำสั่งให้ทำการรุกเพิ่มเติ่มเพื่อดักจับและทำลายกองทัพกลุ่มกลางในแนวรบของมอสโก แต่กองทัพแดงเองก็กำลังอ่อนล้าและเกินกำลังและพวกเขาล้มเหลว<ref>Glantz and House 1995, pp. 91–97.</ref>
 
== ผลที่ตามมา ==
{{See also|ยุทธการที่รเจฟ}}
[[ไฟล์:Medal Defense of Moscow.jpg|150px|thumb|[[เหรียญ "สำหรับการป้องกันที่มอสโก"]]: จำนวน 1,028,600 เหรียญซึ่งได้ถูกมอบปูนบำเหน็จ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1944]]
{{โครง-ส่วน}}