ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อินเจนูอิตี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thitut (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเชิงอรรถ
Thitut (คุย | ส่วนร่วม)
Fixed reference
บรรทัด 32:
| status = {{unbulleted list
|ปฏิบัติการ (ปล่อยลงจาก''เพอร์เซเวียแรนส์'')
|ปล่อยลงเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2564<ref name="Today"/><ref name="NYT-20210323"/><ref name="NASA-20210323"/><ref name="NASA-20210404">{{cite web |title=NASA's Mars Helicopter Survives First Cold Martian Night on Its Own |url=https://mars.nasa.gov/news/8906/nasas-mars-helicopter-survives-first-cold-martian-night-on-its-own/ |website=Nasa Mars Website}}</ref>}}
 
| instruments = {{Hlist|[[หน่วยวัดแรงเฉี่อย|เซ็นเซอร์ตรวจวัดแรงเฉี่อย]]|[[ไลดาร์|เครื่องวัดความสูงเลเซอร์]]|กล้องนำทางสองตัว}}
บรรทัด 93:
''อินเจนูอิตี'' นั้นถูกออกแบบมาเป็นตัวสาธิตเทคโนโลยีโดย[[ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น]]เพื่อประเมินว่าเทคโนโลยีนี้สามารถบินได้อย่างปลอดภัย และมอบการสร้างแผนที่และนำทางที่จะช่วยให้ข้อมูลเพื่มเติมสำหรับผู้ควบคุมภารกิจในอนาคต สามารถวางแผนเดินทาง และหลีกเลี่ยงอันตราย รวมถึงระบุจุดสนใจสำหรับยานสำรวจดาวอังคาร<ref name="NASA-20180511b">{{cite web|last1=Brown|first1=Dwayne|last2=Wendel |first2=JoAnna|last3=Agle|first3=D.C.|last4=Northon|first4=Karen|title=Mars Helicopter to Fly on NASA's Next Red Planet Rover Mission|url=https://www.nasa.gov/press-release/mars-helicopter-to-fly-on-nasa-s-next-red-planet-rover-mission|date=11 May 2018|publisher=NASA|access-date=11 May 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180511211623/https://www.nasa.gov/press-release/mars-helicopter-to-fly-on-nasa-s-next-red-planet-rover-mission/|archive-date=11 May 2018|url-status=live}} {{PD-notice}}</ref><ref name="NYT-20180511">{{cite news|last=Chang|first=Kenneth|title=A Helicopter on Mars? NASA Wants to Try |url=https://www.nytimes.com/2018/05/11/science/mars-helicopter-nasa.html|newspaper=The New York Times|access-date=12 May 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180512130422/https://www.nytimes.com/2018/05/11/science/mars-helicopter-nasa.html|archive-date=12 May 2018|url-status=live}}</ref><ref name="VRG-20180511">{{cite web|last=Gush |first=Loren|title=NASA is sending a helicopter to Mars to get a bird's-eye view of the planet – The Mars Helicopter is happening|url=https://www.theverge.com/2018/5/11/17346414/nasa-mars-2020-helicopter-atmosphere|date=11 May 2018|publisher=The Verge|access-date=11 May 2018|archive-date=6 December 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20201206232523/https://www.theverge.com/2018/5/11/17346414/nasa-mars-2020-helicopter-atmosphere|url-status=live}}</ref> ''อินเจนูอิตี'' นั้นถูกออกแบบเพื่อมอบภาพมุมสูงที่มีความคมชัดประมาณสิบเท่าของภาพจากวงโคจร และจะมอบภาพของลักษณะบางอย่างที่อาจบดบังจากกล้องของยานสำรวจดาวอังคาร ''เพอร์เซเวียแรนส์'' <ref>{{Cite web|last=Greicius|first=Tony|date=2021-02-19|title=NASA's Mars Helicopter Reports In|url=http://www.nasa.gov/feature/jpl/nasa-s-mars-helicopter-reports-in|publisher=NASA|access-date=2021-02-23}} {{PD-notice}}</ref>มีการคาดหมายว่าการสำรวจแบบนี้อาจจะช่วยให้ยานสำรวจดาวอังคารในอนาคตขับไปได้ไกลกว่าเดิมถึงสามเท่าต่อ[[โซล (วันบนดาวอังคาร)|โซล]]<ref>[http://epubs.surrey.ac.uk/841669/1/ScienceRobotics-SpaceRoboticsSurvey%20GaoChien_no%20figure_final.pdf Review on space robotics: Toward top-level science through space exploration] {{Webarchive |url=https://web.archive.org/web/20210221200009/http://epubs.surrey.ac.uk/841669/1/ScienceRobotics-SpaceRoboticsSurvey%20GaoChien_no%20figure_final.pdf|date=21 February 2021}} Y. Gao, S. Chien – Science Robotics, 2017</ref>
 
''อินเจนูอิตี'' ใช้ใบพัดหมุนย้อนร่วมแกน เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ {{cvt|4|ft|order=flip}} น้ำหนักบรรทุกของมันเป็นกล้องมองลงความละเอียดสูงสำหรับการนำทาง ลงจอด และสำรวจพื้นผิว และระบบสื่อสารสำหรับส่งข้อมูลสู่ยานสำรวจดาวอังคาร ''เพอร์เซเวียแรนส์'' <ref>{{cite web|url=https://www-robotics.jpl.nasa.gov/publications/Richard_Volpe/isairas%202014%20paper,%20volpe,%20v8.pdf |title=2014 Robotics Activities at JPL|last=Volpe|first=Richard|work=Jet Propulsion Laboratory|publisher=NASA|access-date=1 September 2015|archive-date=21 February 2021|archive-url=https://web.archive.org/web/20210221200009/https://www-robotics.jpl.nasa.gov/publications/Richard_Volpe/isairas%202014%20paper,%20volpe,%20v8.pdf|url-status=live}} {{PD-notice}}</ref> แม้ว่ามันจะเป็นอากาศยาน มันถูกสร้างขึ้นด้วยรายละเอียดคุณลักษณะจำเพาะของยานอวกาศเพื่อให้มันสามารถทนอัตราเร่งและการสั่นขณะส่งจรวดได้<ref>{{Cite web|last=https://jpl.nasa.gov|title=6 Things to Know About NASA's Mars Helicopter on Its Way to Mars|url=https://www.jpl.nasa.gov/news/6-things-to-know-about-nasas-mars-helicopter-on-its-way-to-mars|access-date=2021-03-10|website=NASA Jet Propulsion Laboratory (JPL)|language=en}}</ref> มันยังมีระบบที่สามารถต้านทานรังสีและสามารถทำงานในสภาพเย็นจัดของดาวอังคาร สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่สม่ำเสมอของดาวอังคารทำให้การใช้[[เข็มทิศ]]ในการนำทางเป็นไปไม่ได้ ดังนั้นมันจึงใช้กล้องติดตามดวงอาทิตย์ซึ่งอยู่รวมกับระบบนำทางด้วยแรงเฉี่อยของห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น ตัวป้อนข้อมูลเข้าเพิ่มเติมได้แก่ [[ไจโรสโคป]], การวัดระยะทางจากภาพ, เครื่องวัดความเอียง, เครื่องวัดความสูง และเครื่องตัวจับสิ่งอันตราย<ref>[https://thesis.library.caltech.edu/10338/1/Parth_Shah_2017Thesis.pdf Heading Estimation via Sun Sensing for Autonomous Navigation] {{Webarchive |url=https://web.archive.org/web/20210221200010/https://thesis.library.caltech.edu/10338/1/Parth_Shah_2017Thesis.pdf|date=21 February 2021}}, Parth Shah, 2017</ref> มันถูกออกแบบให้ใช้[[เซลล์แสงอาทิตย์]]เพื่อเติมไฟฟ้าเข้าสู่[[แบตเตอรี่]]ของมัน ซึ่งเป็น[[แบตเตอรี่ลิเธียมไอออน]]ของโซนี่หกก้อน ซึ่งมีประจุพลังงาน {{cvt|35|-|40|Wh}}<ref name="veritasium20190810">{{cite AV media|url=https://www.youtube.com/watch?v=GhsZUZmJvaM|title=First Flight on Another Planet!|publisher=Veritasium|via=YouTube |date=10 August 2019|access-date=3 August 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200728075025/https://www.youtube.com/watch?v=GhsZUZmJvaM|archive-date=28 July 2020|url-status=live}}</ref> <ref name="Balaram 2018" />
 
ระยะเวลาในการบินนั้นไม่ได้ถูกจำกัดโดยพลังงาน แต่ถูกจำกัดโดยความร้อนส่วนเกิน ที่ทำให้มอเตอร์ร้อนขึ้นขณะบินที่อัตรา 1 เคลวินต่อวินาที<ref name="NextStepsMediaBriefing">{{cite AV media|url=https://www.youtube.com/watch?v=BAlXe-U0ws4|title=NASA's Ingenuity Mars Helicopter's Next Steps|work=Media briefing|publisher=NASA/JPL|via=YouTube |date=30 April 2021|access-date=2021-04-30}}</ref>
 
''อินเจนูอิตี'' ใช้หน่วยประมวลผลสแนปดรากอน 801 ของ[[ควอลคอมม์]] กับระบบปฏิบัติการ[[ลินุกซ์]]<ref name="ieee-linux">{{cite news|url=https://spectrum.ieee.org/automaton/aerospace/robotic-exploration/nasa-designed-perseverance-helicopter-rover-fly-autonomously-mars|title=How NASA Designed a Helicopter That Could Fly Autonomously on Mars|date=17 February 2021|work=IEEE Spectrum|access-date=19 February 2021 |archive-date=19 February 2021|archive-url=https://web.archive.org/web/20210219054558/https://spectrum.ieee.org/automaton/aerospace/robotic-exploration/nasa-designed-perseverance-helicopter-rover-fly-autonomously-mars|url-status=live}}</ref> ท่ามกลางความสามาถอื่น ๆ หน่อยประมวลผลนี้ควบคุมขั้นตอนวิธีนำทางด้วยภาพผ่านการประมาณการอัตราเร็ว ซึ่งหาจากลักษณเฉพาะซึ่งติดตามโดย กล้องมองลงนำทางขาวดำซึ่งมีเซนเซอร์ชัตเตอร์ครอบคลุม โอวี7251 ของออมนิวิสชัน หรือผ่านกล้องมองขอบฟ้าถ่ายพื้นผิว<ref name="Balaram 2018" /><ref>{{cite journal|last1=Matthies|first1=Bayard|last2=Delaune|first2=Conway|title=Vision-Based Navigation for the NASA Mars Helicopter|journal=AIAA Scitech 2019 Forum |issue=1411|year=2019|pages=3|doi=10.2514/6.2019-1411|isbn=978-1-62410-578-4}}</ref>
บรรทัด 105:
ภายหลังจากการปล่อยตัว ยานสำรวจดาวอังคารได้เคลื่อนออกมาจากโดรนประมาณ {{cvt|100|m}} ไปให้มีเขตการบินปลอดภัย<ref name="ibtimes.com" /><ref name="Universe2018" /> เฮลิคอปเตอร์ ''อินเจนูอิตี'' นั้นถูกคาดว่าจะสามารถบินขึ้นได้ห้าครั้ง ระหว่างช่วงทดสอบสามสิบวัน ในระยะเริ่มต้นในภารกิจของยานสำรวจดาวอังคาร <ref name="landing press kit" /><ref name="spacenews 20180504" />
[[File:Ingenuity Helicopter with fully deployed legs (cropped).png|left|thumb|''อินเจนูอิตี'' ในสถานะพร้อมปล่อยตัว]]
ในการบินแต่ละครั้ง มีการวางแผนการบินที่ความสูงตั้งแต่ {{cvt|3|-|5|m|0}} เหนือพื้นดิน ถึงกระนั้น ในไม่ช้า ''อินเจนูอิตี'' สามารถบินไปสูงกว่าความสูงที่วางแผนไว้ได้<ref name="landing press kit" /> การบินครั้งแรกเป็นการลอยตัวที่ความสูง {{cvt|3|m}} นานประมาณ 40 วินาที และรวมถึงมีการถ่ายภาพยานสำรวจดาวอังคารด้วย ภายหลังจากความสำเร็จของการบินครั้งแรก การบินครั้งต่อๆ มาจึงมีความทะเยอทะยานมากขึ้น เพราะเวลาที่ถูกจัดสรรไว้สำหรับบการใช้งานเฮลิคอปเตอร์ลดลงไปเรื่อยๆ เจพีแอลแจ้งว่า ภารกิจอาจจะจบก่อนครบช่วงสามสิบวัน ในกรณีที่เป็นไปได้สูงว่าเฮลิคอปเตอร์จะตก<ref name="PreflightBriefing">{{cite AV media|url=https://www.youtube.com/watch?v=9C_IyUdKKXI|title=Ingenuity Mars Helicopter Preflight Briefing|date=9 April 2021|publisher=NASA [[Jet Propulsion Laboratory]]|format=press conference livestreamed on YouTube}}</ref>{{rp|0:49:50–0:51:40}} ซึ่งเป็นผลลัพธ์ที่ไม่เกิดขึ้น ในการบิน 90 วินาที ต่อครั้ง ''อินเจนูอิตี'' สามารถเดินทางไปได้ไกลถึง {{cvt|50|m}} ในแนวระนาบ และกลับมายังจุดเริ่มต้น โดยนั้นก็เป็นเป้าหมายที่ถูกก้าวข้ามอย่างรวดเร็วในการบินครั้งที่สี่<ref name="landing press kit" />{{sfn|Status 297}} ''อินเจนูอิตี'' ใช้[[หุ่นยนต์อัตโนมัติ|ระบบควบคุมอัตโนมัติ]]ระหว่างการบินของมัน ซึ่งถูกวางแผนและออกคำสั่งจากระยะไกลโดยผู้ควบคุมที่ [[ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น]] (เจพีแอล) มันสื่อสารกับยานสำรวจดาวอังคาร ''เพอร์เซเวียแรนส์'' โดยตรง ทั้งก่อนและหลังการลงจอดแต่ละครั้ง<ref name="PreflightBriefing" />{{rp|1:20:38–1:22:20}}
 
ภายหลังการบินสำเร็จสามครั้งแรก วัตถุประสงค์นั้นถูกเปลี่ยนจากการสาธิตเทคโนโลยี เป็นการสาธิตการปฏิบัติการ เป้าหมายนั้นเปลี่ยนไปสู่การสนับสนุนภารกิจของยานสำรวจดาวอังคาร โดยการทำแผนที่และดูลาดเลาภูมิประเทศ<ref>{{cite web |title=Breaking: Mars Helicopter Is Now A Fully Operational Partner Of Perseverance |url=https://www.iflscience.com/space/breaking-mars-helicopter-is-now-a-fully-operational-partner-of-perseverance/ |website=IFLScience |access-date=30 April 2021 |language=en}}</ref> ระหว่างที่ ''อินเจนูอิตี'' จะสนับสนุน ''เพอร์เซเวียแรนส์'' มากขึ้น ตัวยานสำรวจดาวอังคารจะให้ความสนใจกับเฮลิคอปเตอร์ลดลง และจะเลิกถ่ายภาพการบินของมัน ผู้จัดการเจพีแอลแจ้งว่า ขั้นตอนการถ่ายภาพใช้เวลา "มหาศาล" ดึงภารกิจหลังของโครงการในการหาร่องรอยของสิ่งมีชีวิตโบราณให้ช้าลง<ref>{{cite web |last1=Gohd |first1=Chelsea |title=NASA extends Mars helicopter Ingenuity's high-flying mission on Red Planet |url=https://www.space.com/nasa-mars-helicopter-ingenuity-mission-extended |website=Space.com |access-date=10 June 2021 |date=April 30, 2021}}</ref> ในวันที่ 30 เมษายน 2021 การบินครั้งที่สี่สามารถถ่ายภาพสีได้เป็นจำนวนมาก และได้สำรวจพื้นผิวด้วยกล้องสำรวจขาว-ดำ{{sfn|Status 297}} ในวันที่ 7 พฤษภาคม ''อินเจนูอิตี'' ได้บินไปยังจุดลงจอดใหม่ได้สำเร็จ
บรรทัด 251:
|-
|12
|16 สิงหาคม 2021 ณ เวลา 12:57<ref>{{Cite tweet|user=JPL|number=1427493737219776521 |title=A dozen for the books!|date=17 August 2021}}</ref>{{sfn|Status 321}}<br>(โซล {{age in sols|month1=2|day1=18|year1=2021|month2=8|day2=16|year2=2021}})
|169.5
|{{Cvt|10|m}}