ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดประดู่ทรงธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
วรุฒ หิ่มสาใจ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Nubbkao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
 
== ประวัติ ==
วัดประดู่ทรงธรรมในปัจจุบันเกิดจากการรวมพื้นที่วัดโบราณ 2 วัดคือ '''วัดประดู่''' และ '''วัดโรงทาน (วัดโรงธรรม)''' สำหรับวัดประดู่ ถูกกล่าวถึงในพระราชพงศาวดาร ในคราวที่พระภิกษุสงฆ์ของวัดประดู่ 8 รูป ได้ช่วยเหลือ[[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม]] ให้หลบหนีจากการก่อกบฏของพวก[[ชาวญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]ที่หมายปลงพระชนม์ชีพ และในบันทึกของเอนเยลเบิร์ตเมื่อ แกมป์เฟอร์ (Engelbert Kaempfer) ได้กล่าวว่าเจ้าพระยาพระคลัง (เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก)) ได้ทำการบูรณะวัดหนึ่งซึ่งในบันทึกของหมอแกมป์เฟอร์เรียกว่า '''วัดพระยาพระคลัง''' ซึ่งส่วนใหญ่เชื่อว่าคือ[[วัดสมณโกฎฐาราม]]กับ[[วัดกุฎีดาว]] แต่จากการเทียบแผนที่ของหมอแกมป์เฟอร์ พบว่าตำแหน่งวัดพระยาพระคลังตรงกับวัดประดู่และวัดโรงทาน (วัดโรงธรรม)<ref>https://www.blockdit.com/articles/5ebe15cf70eebe0811c5f0ea</ref> 2153
 
{{คำพูด|ยี่ปุ่นโกรธว่าเสนาบดีมิได้เป็นธรรม คบคิดเข้าด้วยพระพิมลฆ่าพระมหากษัตริย์เสีย ยี่ปุ่นคุมกันได้ประมาณ ๕๐๐ ยกเข้ามาในท้องสนามหลวง คอยจะกุมเอาพระเจ้าอยู่หัว อันเสด็จออกมาฟังพระสงฆ์บอกหนังสือ ณพระที่นั่งจอมทองสามหลัง ขณะนั้นพอพระสงฆ์วัดประดู่โรงธรรมเข้ามา ๘ รูปพาเอาพระองค์เสด็จออกมาต่อหน้านี้ญี่ปุ่น ครั้นพระสงฆ์พาเสด็จไปแล้ว ยี่ปุ่นร้องอื้ออึงขึ้นว่า จะกุมเอาพระองค์แล้วเป็นไรจึงนิ่งเสียเล่า ยี่ปุ่นทุ่มเถียงเป็นโกลาหล ฝ่ายพระมหาอำมาตย์คุมพลได้ แลไล่รบยี่ปุ่นล้มตายเป็นอันมาก ยี่ปุ่นแตกไปจากพระราชวังลงสำเภาหนี ตั้งแต่นั้นมา สำเภาเมืองยี่ปุ่นก็มิได้เข้ามาค้าขายณกรุงเลย พระมหาอำมาตย์ ให้ไปเชิญเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเข้าพระราชวัง เพลาเช้าเสด็จออกท้องพระโรง พร้อมด้วยท้าวพระยาเสนาบดีมนตรีมุขทั้งหลาย ทรงพระกรุณาตรัสว่า ราชการครั้นนี้พระมหาอำมาตย์มีความชอบ มาก ให้เป็นเจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์ พระราชทานเครื่องอุปโภคบริโภคเป็นอันมาก แล้วสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชโองการ ให้วิเศษแต่งกับปิยะจังหันถวายพระสงฆ์วัดประดู่โรงธรรมเป็นนิจอัตรา|พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)}}<ref>พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553. 800 หน้า. ISBN 978-616-7146-08-9</ref>
นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงในคราวที่[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]] หรือ "ขุนหลวงหาวัด" ผนวชและพำนักที่วัดประดู่นี้เป็นวันสุดท้าย ก่อนถูกกวาดต้อนไปอังวะภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาในปี [[พ.ศ. 2310]]
 
ในบันทึกของ[[เอ็งเงิลแบร์ท เค็มพ์เฟอร์]] (Engelbert Kaempfer) ได้กล่าวว่าเจ้าพระยาพระคลัง ([[เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก)]]) ได้ทำการบูรณะวัดแห่งหนึ่ง ซึ่งในบันทึกของหมอแกมป์เฟอร์เรียกว่า '''วัดพระยาพระคลัง''' ซึ่งส่วนใหญ่เชื่อว่าคือ[[วัดสมณโกฎฐาราม]]กับ[[วัดกุฎีดาว]] แต่จากการเทียบแผนที่หมอแกมป์เฟอร์ของอชิรวิชญ์ อันธพันธ์ พบว่าตำแหน่งวัดพระยาพระคลังตรงกับวัดประดู่และวัดโรงทาน (วัดโรงธรรม) จึงสันนิษฐานว่าวัดประดู่อาจเป็นวัดพระยาพระคลังก็เป็นได้<ref>อชิรวิชญ์ อันธพันธ์ (2563). ไขปริศนา "วัดพระยาพระคลัง" จากแผนที่ของหมอแกมป์เฟอร์. ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 41. ฉบับที่ 5 มีนาคม.</ref> <ref>https://www.blockdit.com/articles/5ebe15cf70eebe0811c5f0ea</ref>
เมื่อแรกรวมวัดเข้ากันในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]นั้นเรียกชื่อวัดว่าวัดประดู่โรงธรรม ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อเป็นวัดประดู่ทรงธรรมจนถึงปัจจุบัน อนึ่ง พื้นที่ของวัดประดู่ทรงธรรมในปัจจุบันคือพื้นที่ของวัดโรงทาน (วัดโรงธรรม) ส่วนวัดประดู่ที่เป็นที่ผนวชของพระเจ้าอุทุมพรนั้น ตั้งอยู่เหนือวัดโรงทาน(วัดโรงธรรม)โดยมีคลองวัดประดู่กั้นระหว่างทั้ง2วัด ปัจจุบันวัดประดู่ยังเหลือซากวัดร้างอยู่ ส่วนคลองวัดประดู่ถูกถมบางส่วน
 
พ.ศ. 2301 [[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]] ได้สละราชสมบัติให้[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์]] ทรงพระผนวชและพำนักที่วัดประดู่
 
{{คำพูด|ครั้นแรมเดือน ๗ เสด็จพระราชดำเนินไปถวายราชสมบัติแก่สมเด็จพระเชษฐาธิราชแล้ว ถึงเดือน ๘ ข้างขึ้น ก็เสด็จทรงเรือพระที่นั่งกิ่งเป็นกระบวนพยุหยาตรา ออกไปพระผนวชวัดเดิม แล้วเสด็จไปอยู่ณวัดประดู่|พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)}}<ref>พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553. 800 หน้า. ISBN 978-616-7146-08-9</ref>
 
พ.ศ. 2302 พระเจ้าอลองพญายกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรได้ลาพระผนวชมาช่วยทำการศึก เมื่อพม่าเลิกทัพไปจากกรุงศรีอยุธยาแล้ว สมเด็จพระเจ้าอุุทุมพรก็ทรงพระผนวชอีกครั้งยังวัดโพธิ์ทองคำหยาด จากนั้นเสด็จฯ กลับมาประทับ ณ วัดประดู่ตามเดิม เมื่อสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ได้เสด็จฯ จากวัดประดู่มาประทับยัง[[วัดราชประดิษฐาน]]ในพระนคร
 
เมื่อแรกรวมวัดเข้ากันในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]นั้นเรียกชื่อวัดว่า '''วัดประดู่โรงธรรม''' ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อเป็น '''วัดประดู่ทรงธรรม''' จนถึงปัจจุบัน อนึ่ง พื้นที่ของวัดประดู่ทรงธรรมในปัจจุบันคือพื้นที่ของวัดโรงทาน (วัดโรงธรรม) ส่วนวัดประดู่ที่เป็นที่ผนวชของสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรนั้น ตั้งอยู่เหนือวัดโรงทาน(วัดโรงธรรม) โดยมีคลองวัดประดู่กั้นระหว่างทั้ง 2 วัด ปัจจุบันวัดประดู่ยังเหลือซากวัดร้างอยู่ ส่วนคลองวัดประดู่ถูกถมบางส่วน
 
== ความสำคัญ ==