ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สามเหลี่ยมทองคำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SaiLp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนขาดอ้างอิง
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 1:
{{for|ความหมายอื่น ๆ|สามเหลี่ยมทองคำ (แก้ความกำกวม)}} <!-- เนื่องจาก "สามเหลี่ยมทองคำ" เฉย ๆ ในความหมายไทยน่าจะหมายถึงที่นี่เป็นหลัก ? จึงคงชื่อบทความนี้ไว้โดยไม่มี "(เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)" -->
[[ไฟล์:สามเหลี่ยมทองคำ วัดพระธาตุผาเงา 02.jpg|thumb|สามเหลี่ยมทองคำจาก[[วัดพระธาตุผาเงา]] [[จังหวัดเชียงราย]]|384x384px]]
[[ไฟล์:ແນວຕໍ່ຊາຍແດນສາມປະເທດ.jpg|thumb|385x385px|พื้นที่รอยต่อระหว่างชายแดนสามประเทศ]]<!-- เนื่องจาก "สามเหลี่ยมทองคำ" เฉย ๆ ในความหมายไทยน่าจะหมายถึงที่นี่เป็นหลัก ? จึงคงชื่อบทความนี้ไว้โดยไม่มี "(เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)" -->
[[ไฟล์:สามเหลี่ยมทองคำ วัดพระธาตุผาเงา 02.jpg|thumb|สามเหลี่ยมทองคำจาก[[วัดพระธาตุผาเงา]] [[จังหวัดเชียงราย]]|384x384px]]
 
'''สามเหลี่ยมทองคำ''' ({{lang-my|ရွှေတြိဂံ နယ်မြေ}}, {{IPA-my|ʃwè tɹḭɡàɰ̃ nɛ̀mjè|pron}}; {{lang-lo|ສາມຫຼ່ຽມທອງຄຳ}}; {{lang-zh|金三角}}; {{lang-vi|Tam giác Vàng}}; {{lang-km|តំបន់ត្រីកោណមាស}}, {{IPA-km|tɑmbɑn trəy kaon mieh|pron}}) เป็นพื้นที่พรมแดนระหว่าง[[ประเทศไทย]] [[ลาว]] และ [[พม่า]] จุดบรรจบระหว่าง[[แม่น้ำรวก]]กับ[[แม่น้ำโขง]]<ref>{{Cite web |title=GOLDEN TRIANGLE |url=https://www.tourismthailand.org/Attraction/Golden-Triangle--4418 |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20190731154559/https://www.tourismthailand.org/Attraction/Golden-Triangle--4418 |archive-date=31 July 2019 |access-date=4 April 2018 |website=Tourism Authority of Thailand (TAT)}}</ref> คำว่า "สามเหลี่ยมทองคำ" ({{lang-en|Golden Triangle}}) คิดขึ้นโดย[[ซีไอเอ]]<ref>{{Cite news |last=O'Riordain |first=Aoife |date=22 February 2014 |title=Travellers Guide: The Golden Triangle |work=The Independent |url=https://www.independent.co.uk/travel/asia/travellers-guide-the-golden-triangle-9143820.html |access-date=4 April 2018}}</ref> โดยทั่วไปหมายถึงพื้นที่อาณาเขตประมาณ {{convert|367000|sqmi|km2|order=flip}} ซ้อนทับระหว่างสามประเทศ
สามเหลี่ยมทองคำควบคู่กับ[[ประเทศอัฟกานิสถาน]]ใน[[Golden Crescent|จันทร์เสี้ยวทองคำ]] เป็นหนึ่งในพื้นที่ที่มีการผลิต[[ฝิ่น]]ที่ใหญ่ที่สุดในโลกนับตั้งแต่ทศวรรษ 1950 นอกจากนี้ที่นี่ยังเป็นแหล่งที่มาของ[[เฮโรอีน]]ที่ใหญ่ที่สุดในโลก จนกระทั่งช่วงต้นศตวรรษที่ 21 ซึ่งอัฟการิสถานขึ้นมาครองตำแหน่งนี้แทน<ref name="top_producer">[https://www.washingtontimes.com/news/2013/mar/12/afghanistan-again-tops-list-illegal-drug-producers/ "Afghanistan Again Tops List of Illegal Drug Producers"]. ''[https://www.washingtontimes.com/news/2013/mar/12/afghanistan-again-tops-list-illegal-drug-producers/ The Washington Times]''. 12 March 2013.</ref>
 
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== เขตเศรษฐกิจพิเศษ สามเหลี่ยมทองคำ ==
[[ไฟล์:ຕົວເມືອງໄໝ່ເຂດເສດຖະກິດພິເສດ ສາມຫຼ່ຽມຄຳ.jpg|thumb|383x383px|ตัวเมืองไหม่ของเขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองคำ]]
รัฐบาลลาวนั้นได้ให้สิทธิ์แก่ บริษัท ดอกงิ้วคํา จำกัด ในการสําปะทานที่ดินผืนมหึมาเนื้อที่รวมประมาณ 10,000 เฮกตาร์ (ราว 62,500 ไร่) (โดยแบ่งออกเป็นที่ดินสำหรับใช้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองคำโดยเฉพาะเป็นเนื้อที่ 3,000 เฮกตาร์ หรือราว 18,750 ไร่) และ อีก 7,000 เฮกตาร์ เป็นเนื้อที่ป่าป้องกันแห่งชาติ สายภูกิ่วลม เป็นเวลา 99 ปี เพื่อวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการค้า, การลงทุน และ การท่องเที่ยวแบบคบวงจร
 
สำหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีนั้น ได้เริ่มก่อสร้างมาตั้งแต่ปี 2009 และปัจจุบันมีทั้งด่านตรวจผ่านแดนนานาชาติและท่าเรือริมแม่น้ำ, สถานกาสิโนคิงโรมันส์, โรงแรมหลายแห่ง และ ตลาดไชน่าทาวน์ที่เพิ่งเปิดใหม่นี้ ตลอดจนภัตตาคารร้านอาหารมากกว่า 70 แห่ง และ บรรดาร้านค้าขายสินค้าปลีกนานาชนิด
 
เขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองคำ ปกครองโดยคณะกรรมการสภาบริหารสามเหลี่ยมทองคำ มีท่าน “จ้าว เหว่ย” เป็นประธาน. นับแต่ปี 2555 จนถึง 6 เดือนแรกของปี 2562 เขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมทองคำ ได้มอบพันธะภาษีให้รัฐบาลลาวไปแล้ว 458 ล้านดอลลาร์
 
ในปี 2561 มีนักท่องเที่ยวเข้ามา 4.5 แสนคน เฉพาะที่เข้ามาผ่านด่านสากลสามเหลี่ยมทองคำ 1.3 แสนคน ภายในสามเหลี่ยมทองคำ มีโรงแรม 13 แห่ง มีห้องพัก 1,303 ห้อง ปลายปีนี้ โรงแรมจะเพิ่มขึ้นอีก 3 แห่ง
[[ไฟล์:ຮູບພາບ.jpg|thumb|381x381px|โรงแรมใหม่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองคำ]]
ตั้งแต่ปี 2550 รัฐบาล สปป.ลาว อนุญาตให้สัมปทาน “เขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมทองคำ” เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว ตรงข้ามกับ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย และ จ.ท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน อยู่ในกานคุ้มครองของ “กลุ่มบริษัทดอกงิ้วคำจำกัด” จากสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
เขตเศรษฐกิจพิเศษ สามเหลี่ยมทองคำ เป็นการลงทุนร่วมระหว่างรัฐบาล สปป.ลาว 20% และ กลุ่มบริษัทดอกงิ้วคำ 80%
 
เขตเศรษฐกิจแห่งนี้ ไม่ได้มีแต่คาสิโน หากยังมีสะนามบิน เขตอุตสาหกรรม เขตเกษตรกรรม โรงแรม สนามกอล์ฟ ห้างสรรพสินค้า ฯลฯ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
== งานเทศกาลดอกงิ้วบาน ==
[[ไฟล์:ງານປະກວດນາງສາວດອກງິ້ວບານ.jpg|thumb|385x385px|งานเทศกาลดอกงิ้วบาน ปี2009]]
งานเทศกาลดอกงิ้วบานเริ่มจากงานเล็กๆแต่ ปี2000 เป็นต้นมา และ ทำติดต่อกันมาหลายปี จนกลายเป็นงานใหญ่ระดับประเทศเนื่องในปีการท่อวเที่ยวลาว-จีน​ ซึ่งต้องขอขอบคุณทางคณะบริหารดอกงิ้วคำ​ที่สนับสนุนงบประมาณให้การจัดงานมาโดยตลอด​ เทศกาลดอกงิ้วบานนอกจากจะเป็นการส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรมอันดีงามของกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง​ลาว​ จีน​ ไทย และ เมียนมาแล้ว​ยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้กับพื้นที่ และ ประเทศลาวได้เป็นอย่างดี​ อีกทั้งยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้นอีกด้วย
 
ในงานจะ มีการจัดแสดงศิลปะวัฒนธรรมจาก 13 ชนเผ่าจาก สปป.ลาว ชนเผ่าจากเมียนมา ไทย และ จีนตอนใต้ให้ชม ส่วนกิจกรรมอื่นๆที่น่าสนใจภายในงานอาทิ การประกวดนางงามดอกงิ้วบาน ทั้งนี้เกาะดอนซาวของเขตเศรษฐกิจพิเศษสาม เหลี่ยมทองคำนั้น นักท่องเที่ยวชาวไทยสามารถนั่งเรือนำเที่ยวข้ามไปท่องเที่ยวได้ โดยไม่ต้องทำใบผ่านแดน นอกจากในงานแล้วบนเกาะดอนซาวมีตลาดการค้าชายแดนสามารถไปช็อปปิ้งสินค้าปลอดภาษี หรือ สินค้าพื้นเมืองได้ โดยงานเทศกาลดอกงิ้วบานที่เกาะดอนซาวจะจัดขึ้นทุกปีในช่วงระหว่างท้ายเดือน มกราคม หรือ ต้นเดือน กุมภาพันธ์ ขึ้นกับสภาพแวดล้อมด้วยในแต่ละปีด้วย
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
[[ไฟล์:ງານປະກວດນາງສາວດອກງິ້ວບານ..jpg|thumb|387x387px|งานเทศกาลดอกงิ้วบาน ปี2019]]
 
 
 
 
{{พรมแดน/พม่า}}