ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุณาโลม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การนำไปใช้: เพิ่ม "เดิม" ต่อท้าย เนื่องจากอาคารก่อสร้างใหม่อยู่
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5:
สัญลักษณ์อุณาโลมมีปรากฏอยู่ในเทวรูปใน[[ศาสนาฮินดู]] [[ประเทศอินเดีย]] มาตั้งแต่ยุคอินเดียโบราณ โดยการเป็นสัญลักษณ์มาจาก อักขระ ''[[โอม]]'' โดยมีการลดทอนสัญลักษณ์มาเรื่อย ๆ จนคล้ายเลขหนึ่งหรือเลขเก้าไทย ตามคติฮินดู คำว่า "อุณาโลม" มาจากคำว่า "โอม" ซึ่งเกิดจากการผสมคำระหว่าง อุ อะ มะ อันหมายถึงเทพเจ้าทั้งสาม
 
สัญลักษณ์อุณาโลมที่พบในศาสนาพุทธพบในเศียรพระพุทธรูปลังกา สมัยโปโลนารุวะ พุทธศตวรรษที่ 16 ใน[[ประเทศเนปาล]] โดยพบคู่กับพระเนตรของพระพุทธเจ้าที่[[เจดีย์พุทธนาถ]] ในประเทศไทยสันนิษฐานว่าว่า สัญลักษณ์อุณาโลมที่พบเก่าแก่ที่สุด ที่ปรากฏอยู่บนเศียรพระพุทธรูป[[ปางมารวิชัย]][[ศิลปะทวารวดี]] พุทธศตวรรษที่ 14–15<ref>พิริยะ ไกรฤกษ์. ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย. อมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ๊พ.กรุงเทพฯ. 2533. หน้า 117.</ref> ที่[[จังหวัดบุรีรัมย์]] สัญลักษณ์อุณาโลมมีปรากฏขึ้นในประเทศไทยตั้งแต่สมัยทวารวดีซึ่งอาจได้รับอิทธิพลมาจากอินเดียเหนือ ลังกา ขอม คงทำหน้าที่ตรงไปตรงมาคือเป็นขนระหว่างคิ้วของพระพุทธเจ้า<ref>{{cite web |author1=กิตติธัช ศรีฟ้า |title=สัญลักษณ์อุณาโลม การสื่อความความหมายของสัญลักษณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน |url=http://www.commartsreview.siam.edu/2017/images/review/year11-vol12/year11-vol12-11.pdf}}</ref>
 
==การนำไปใช้==