ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทคโนโลยี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NP-chaonay (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบอย่างเดียว เผื่อผู้ใช้ท่านอื่นตรวจสอบ Copyright issues หรือการคัดลอกเนื้อหาโดยไม่ปรับข้อความ หรือนำเนื้อหาติดลิขสิทธิ์ไม่ถูกต้องมา
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไข จะได้ไม่ต้องลบ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{แปลเพิ่ม|lang=วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ|langcode=en|otherarticle=Technology}}
'''เทคโนโลยี''' หรือ '''เทคนอลอจี''' ({{lang-en|Technology}}; "ศาสตร์การประดิษฐ์", จาก[[ภาษากรีกโบราณ]] {{lang|grc|τέχνη}}, ''techne'', "ศิลปะ, ทักษะ, ฝีมือ"; กับ {{lang|grc|-λογία}}, ''[[wikt:-logia|ศาสตร์]]''<ref name="Liddell 1980">{{cite book|title=A Greek-English Lexicon|first1=Henry George|last2=Scott|first2=Robert|publisher=[[Oxford University Press]]|year=1980|isbn=978-0-19-910207-5|location=United Kingdom|last1=Liddell|title-link=A Greek-English Lexicon|edition=Abridged}}</ref>) เป็นการผสมผสาน[[Art techniques and materials|เทคนิก]], [[ทักษะ]], [[Scientific method|วิธีการ]] และ [[Business process|กระบวนการ]] เพื่อผลิต[[สินค้า]] หรือ [[บริการ]] หรือเพื่อบรรวัตถุประสงค์หนึ่ง ๆ
{{รีไรต์}}
{{ขาดอ้างอิง}}
{{ลบ|NOT: เนื้อหาไม่เป็นสารานุกรมตามนโยบาย}}
 
คำว่า "เทคโนโลยี" เปลี่ยนความหมายไปอย่างมากในช่วง 200 ปีที่ผ่านมา ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำนี้ไม่ปรากฏใช้ในภาษาอังกฤษมากนัก และหากปรากฏก็มีไว้สื่อถึงศาสตร์ชอง[[useful arts|ศิลปะเพื่อการใช้งาน]]<ref>{{Cite book |title=Universal Technological Dictionary, or Familiar Explanation of the Terms Used in All Arts and Sciences |last=Crabb |first=George |publisher=Baldwin, Cradock, and Joy |year=1823 |location=London |page=524 |via=Internet Archive }}</ref> หรือการศึกษาเชิงเทคนิก ดังเช่นในชื่อของ [[Massachusetts Institute of Technology|สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] (จัดตั้งในปี 1861)<ref>{{Cite book |title=Mind and Hand: The Birth of MIT |last1=Mannix |first1=Loretta H. |last2=Stratton |first2=Julius Adams |publisher=MIT Press |year=2005 |isbn=978-0-262-19524-9 |location=Cambridge |pages=190–92 }}</ref>
'''เทคโนโลยี''' <ref>{{Cite web |url=http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |title=ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน |access-date=2009-04-09 |archive-date=2017-07-15 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |url-status=dead }}</ref> หรือ '''เทคนิควิทยา'''<ref name="STOU" /> ({{lang-en|Technology}}) มีที่มาจาก[[ภาษากรีกโบราณ]] คำว่า {{lang-el| τέχνη}} แปลว่า "ทักษะ หรือการใช้ฝีมือ" และ {{lang-el|λογία}} แปลว่า วิทยาการ) หมายถึง บรรดาเทคนิควิธี, ทักษะ, วิธีการ หรือ กรรมวิธี ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตผลิตภัณฑ์และการให้บริการ หรือเพื่อนำไปใช้ให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง เทคโนโลยีอาจเป็นได้ทั้งความรู้ด้านเทคนิควิธี วิธีการทำงาน หรือวิธีการทำหรือประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ และยังรวมถึงการใช้ประโยชน์จากเครื่องมือหรือเครื่องจักรของบุคคลทั่ว ๆ ไปโดยที่ไม่จำเป็นต้องมีเข้าใจถึงหลักการทำงานของมันอีกด้วย
 
คำว่า "เทคโนโลยี" เริ่มกลายมาเป็นคำที่ใช้ทั่วไปนับตั้งแต่[[Second Industrial Revolution|การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สอง]]ในศตวรรษที่ 20 คำนี้เริ่มเปลี่ยนความหมายในต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อนักสังคมวิทยา เริ่มต้นโดย[[Thorstein Veblen|ธอร์สไตน์ เวเบลน]] แปลแนวคิดภาษาเยอรมันของคำว่า ''[[:de:Technik|Technik]]'' เป็น "เทคโนโลยี" ในภาษาเยอรมันและภาษายุโรปอื่น มีความแตกต่างชัดเจนระหว่างความหมายของ ''technik'' กับ ''technologie'' แต่ความต่างนี้ไม่ปรากฏในภาษาอังกฤษ ซึ่งมักแปลทั้งสองคำเป็น "technology" เหมือนกัน ภายในทศวรรษ 1930s "เทคโนโลยี" ถูกใช้เพื่อสื่อความหมายถึงทั้งการศึกษา[[industrial arts|ศิลปะอุตสาหกรรม]]และตัวศิลปะอุตสาหกรรมเอง<ref>{{Cite journal |title=Technik Comes to America: Changing Meanings of Technology Before 1930 |journal=Technology and Culture |volume=47 }}</ref>
คำว่า "เทคโนโลยี" ในความหมายอย่างกว้าง หมายถึงการนำความรู้ทาง[[ธรรมชาติวิทยา]]และต่อเนื่องมาถึง[[วิทยาศาสตร์]] มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้[[นามธรรม]]เช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น <ref name="STOU">สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. "5.1.2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยี". ''ประมวลสาระชุดวิชาไทยศึกษา หน่วยที่ 1-7''. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552. หน้า 244. ISBN 974-645-258-4</ref>
 
== ลักษณะของเทคโนโลยี ==
 
สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (Heinich , Molenda and Russell. 1993 : 449)
 
1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process) เป็นการใช้อย่างเป็นระบบของวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือ
 
ความรู้ต่างๆที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อนำไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดยเชื่อว่าเป็นกระบวนการที่เชื่อถือได้และนำไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ
 
2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ที่เป็นผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี
 
3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product) เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการทำงานเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเครื่องกับโปรแกรม
 
==ผลกระทบของเทคโนโลยี==
เทคโนโลยีก่อเกิดผลกระทบต่อ[[สังคม]]และในพื้นที่ที่มีเทคโนโลยีเข้าไปเกี่ยวข้องในหลายรูปแบบ เทคโนโลยีได้ช่วยให้สังคมหลาย ๆ แห่งเกิดการพัฒนาทาง[[เศรษฐกิจ]]มากขึ้นซึ่งรวมทั้งเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ในหลาย ๆ ขั้นตอนของการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีได้ก่อให้ผลผลิตที่ไม่ต้องการ หรือเรียกว่า[[มลภาวะ]] เกิดการสูญเสีย[[ทรัพยากรธรรมชาติ]]และเป็นการทำลาย[[สิ่งแวดล้อม]] เทคโนโลยีหลาย ๆ อย่างที่ถูกนำมาใช้มีผลต่อค่านิยมและ[[วัฒนธรรม]]ของสังคม เมื่อมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกิดขึ้นก็มักจะถูกตั้งคำถามทางจริยธรรม
เช่น การมาของ อินเทอร์เน็ต ทำให้เกิดเว็บไซต์หนังผู้ใหญ่ขึ้นมา ซึ่งสังคมก็ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องของจริยธรรม
 
เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่มนุษย์นำความรู้จากธรรมชาติวิทยามาคิดค้นและดัดแปลงธรรมชาติเพื่อแก้ปัญหาพื้นฐานในการดำรงชีวิต ในระยะแรกเทคโนโลยีที่นำมาใช้เป็นระดับพื้นฐานอาทิ [[การเพาะปลูก]] [[การชลประทาน]] [[การก่อสร้าง]] การทำเครื่องมือเครื่องใช้ การทำ[[เครื่องปั้นดินเผา]] [[การทอผ้า]] เป็นต้น ปัจจัยการเพิ่มจำนวนของประชากร ข้อจำกัดด้านทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งการพัฒนาความสัมพันธ์กับต่างประเทศ เป็นปัจจัยสำคัญในการนำและการพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้มากขึ้น
 
เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กันมาก เทคโนโลยีเกิดจากพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ถ่ายทอดมาจากประเทศตะวันตก ซึ่งศึกษาค้นคว้าทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่[[ยุคปฏิวัติวิทยาศาสตร์]] (คริสต์ศตวรรษที่ 16-17) ทำให้การพัฒนาเทคโนโลยีเจริญก้าวหน้าควบคู่อย่างก้าวกระโดดไปกับวิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่เกิดจากการสังเกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ คือการพยายามที่อธิบายว่าทำไมจึงเกิดอย่างนั้น เช่น นักฟิสิกส์ อธิบายว่า เมื่อขดลวดตัดสนามแม่เหล็กจะได้กระแสไฟฟ้า และน้ำเกิดจากไฮโดรเจนผสมกับออกซิเจน เป็นต้น ตั้งเป็นกฎเกณฑ์และทฤษฎีเพื่อถ่ายทอดและสอนให้ผู้อื่นได้ศึกษาและพัฒนา
 
[[ไฟล์:Wheel Iran.jpg|thumb|left|[[ล้อ]] เทคโนโลยีที่มีการพัฒนาตั้งแต่ยุคโบราณ]]
ส่วนในความหมายของเทคโนโลยีเป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติแก่มวลมนุษย์ กล่าวคือ เทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ในการประดิษฐ์สิ่งดำที่สุดสูงสุด ส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นสมบัติส่วนรวมของชาวโลก มีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ
บทบาทของเทคโนโลยีต่อการพัฒนาประเทศไทยได้เล็งเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาเป็นลำดับ เช่น การตราพระราชบัญญัติ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าในปี พศ 2514 และจัดตั้งกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงานแห่งชาติขึ้นในปี พศ 2522 ให้ทำหน้าที่หลักในการเผยแพร่และพัฒนาผลงานทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์สูงสุด ปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทต่อการพัฒนาอย่างมาก กล่าวโดยสรุปดังนี้
# เทคโนโลยีกับการพัฒนาอุตสาหกรรม การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต ทำให้ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น ประหยัดแรงงาน ลดต้นทุนและ รักษาสภาพแวดล้อม เทคโนโลยีที่มีบทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย เช่น คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การสื่อสาร เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุกรรม วิศวกรรม เทคโนโลยีเลเซอร์ การสื่อสาร การแพทย์ เทคโนโลยีพลังงาน เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ เช่น พลาสติก แก้ว วัสดุก่อสร้าง โลหะ
# เทคโนโลยีกับการพัฒนาด้านการเกษตร ใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ เป็นต้น เทคโนโลยีมีบทบาทในการพัฒนาอย่างมาก แต่ทั้งนี้การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาจะต้องศึกษาปัจจัยแวดล้อมหลายด้าน เช่น ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ความเสมอภาคในโอกาสและการแข่งขันทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เกิดความ ผสมกลมกลืนต่อการพัฒนาประเทศชาติและส่วนอื่น ๆ อีกมาก
 
ในทาง[[เศรษฐศาสตร์]] มองเทคโนโลยีว่าเป็นความรู้ของมนุษย์ ณ ปัจจุบัน ในการนำเอาทรัพยากรมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ (รวมถึงความรู้ว่าเราสามารถผลิตอะไรได้บ้าง) ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จะเกิดขึ้นเมื่อความรู้ทางเทคนิคของเราเพิ่มขึ้น
 
== วิทยาการและความล้ำหน้าทางเทคโนโลยี ==
ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เป็นที่สนใจของคนทุกมุมโลกทุกสาขา เทคโนโลยีจึงเป็นที่แพร่หลายและนำมาใช้ในการทำงานและชีวิตประจำวัน การเรียนการศึกษาในสมัยนี้จึงมีหลักสูตรที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเข้าไปด้วย เทคโนโลยีที่ล้ำหน้าที่สุดที่คนทั่วโลกให้ความสำคัญคือ[[เทคโนโลยีสารสนเทศ]] เพราะปัจจุบันนี้อุปกรณ์หลายชนิดก็ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็น [[คอมพิวเตอร์]] [[โทรศัพท์]] [[มือถือ]] [[อินเทอร์เน็ต]] [[PDA]] [[GPS]] [[ดาวเทียม]] และไม่นานมานี้มีการออกพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นการบ่งบอกว่าสังคมให้ความสำคัญแก่คอมพิวเตอร์
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[วิทยาศาสตร์ประยุกต์]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.kmutt.ac.th/av/HTML/techno/note.htm เทคโนโลยี คืออะไร]
* [http://www.9inter.com เทคโนโลยี แบบเจาะลึก]
 
{{เทคโนโลยี}}