ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกภพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Patseaza (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Patseaza (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 5:
|caption = ภาพ[[อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล]]แสดง[[ดาราจักร]]ที่อยู่ห่างไกลที่สุดบางส่วนที่มองเห็นได้ด้วยเทคโนโลยีปัจจุบัน ซึ่งแต่ละแห่งประกอบด้วยดาวนับพันล้านดวง (พื้นที่ภาพที่เห็นได้ชัด มีขนาดประมาณ 1/79 ของพระจันทร์เต็มดวง)<ref name="spacetelescope.org">{{cite web |url=http://spacetelescope.org/images/heic0406a/ |title=Hubble sees galaxies galore |work=spacetelescope.org |access-date=April 30, 2017}}</ref>
|label1 = [[อายุของเอกภพ|อายุ]] (ใน[[แบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม]])
|data1 = 13.799 ± 0.021 พันล้านปี<ref name="Planck 2015">{{cite journal|author=Planck Collaboration|year=2016|title=Planck 2015 results. XIII. Cosmological parameters |arxiv=1502.01589|bibcode=2016A&A...594A..13P|doi=10.1051/0004-6361/201525830 |volume=594 |journal=Astronomy & Astrophysics |page=A13, Table 4|s2cid=119262962}}</ref>
|label2 = เส้นผ่านศูนย์กลาง
|data2 = ไม่ทราบ<ref name="Brian Greene 2011">{{cite book |first=Brian |last=Greene |author-link=Brian Greene |title=The Hidden Reality |publisher=[[Alfred A. Knopf]] |date=2011|title-link=The Hidden Reality }}</ref> เส้นผ่านศูนย์กลางของ[[เอกภพที่สังเกตได้]]: {{val|8.8|e=26|u=เมตร}} {{nowrap|(28.5 กิกะ[[พาร์เซก]] หรือ 93 กิกะ[[ปีแสง]])}}<ref>{{cite book |first1=Itzhak|last1=Bars|first2=John|last2=Terning|title=Extra Dimensions in Space and Time |url=https://books.google.com/books?id=fFSMatekilIC&pg=PA27|access-date=May 1, 2011|date=November 2009 |publisher=Springer|isbn=978-0-387-77637-8|pages=27–}}</ref>
|label3 = มวล (สสารทั่วไป)
|data3 = อย่างน้อย 10<sup>53</sup> กิโลกรัม<ref name="Paul Davies 2006 43">{{cite book|first=Paul|last=Davies|date=2006|title=The Goldilocks Enigma|page=43ff|publisher=First Mariner Books|isbn=978-0-618-59226-5|url=https://archive.org/details/cosmicjackpotwhy0000davi|url-access=registration}}</ref>
บรรทัด 19:
|data7 = [[รูปร่างของเอกภพ|แบน]] โดยมีอัตราความคลาดเคลื่อน 0.4%<ref>{{cite web |author=NASA/WMAP Science Team|date=January 24, 2014 |url=http://map.gsfc.nasa.gov/universe/uni_shape.html|title=Universe 101: Will the Universe expand forever? |publisher=NASA|access-date=April 16, 2015}}</ref>
}}
'''เอกภพ''' หรือ '''จักรวาล''' เป็นที่อยู่ของ[[อวกาศ]]และ[[เวลา]]ทั้งหมด{{efn|name=spacetime|ตามหลัก[[ฟิสิกส์สมัยใหม่]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีสัมพัทธภาพ อวกาศและเวลามีการเชื่อมโยงกันภายในเป็น[[ปริภูมิ-เวลา]]}} และประกอบด้วย<ref name="Zeilik1998">{{cite book |title=Introductory Astronomy & Astrophysics |last1=Zeilik |first1=Michael |last2=Gregory |first2=Stephen A. |date=1998 |edition=4th |publisher=Saunders College Publishing |quote=The totality of all space and time; all that is, has been, and will be. |isbn=978-0-03-006228-5}}</ref> [[ดาวเคราะห์]], [[ดาวฤกษ์]], [[ดาราจักร]], [[สสาร]]และ[[พลังงาน]]รูปแบบอื่น ๆ ทั้งหมด ทฤษฎี[[บิกแบง]] เป็นคำอธิบายเชิง[[จักรวาลวิทยา]]ที่แพร่หลายของการพัฒนาของจักรวาล จากการประมาณของทฤษฎีนี้ อวกาศและเวลาเกิดขึ้นพร้อมกันเมื่อ {{val|13.799|0.021|u=พันล้านปี}}ก่อน<ref name="Planck 2015">{{cite journal|author=Planck Collaboration|year=2016|title=Planck 2015 results. XIII. Cosmological parameters |arxiv=1502.01589|bibcode=2016A&A...594A..13P|doi=10.1051/0004-6361/201525830 |volume=594 |journal=Astronomy & Astrophysics |page=A13, Table 4|s2cid=119262962}}</ref> และจักรวาลก็ขยายตัวตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ในขณะที่ไม่ทราบขนาดเชิงพื้นที่ของเอกภพทั้งหมด<ref name="Brian Greene 2011">{{cite book |first=Brian |last=Greene |author-link=Brian Greene |title=The Hidden Reality |publisher=[[Alfred A. Knopf]] |date=2011|title-link=The Hidden Reality }}</ref> สมการขยายตัวของจักรวาลบ่งชี้ว่าต้องมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ต่ำกว่า 23 ล้านล้านปีแสง<ref>{{cite news|work=Forbes |date=July 14, 2018 |first=Ethan |last=Siegel|url=https://www.forbes.com/sites/startswithabang/2018/07/14/ask-ethan-how-large-is-the-entire-unobservable-universe/?sh=bfd5d37df806|title=Ask Ethan: How Large Is The Entire, Unobservable Universe?}}</ref> และสามารถวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของ[[เอกภพที่สังเกตได้]]ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 93 พันล้านปีแสง ณ ปัจจุบัน
'''เอกภพ''' หรือ '''จักรวาล''' โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นผลรวมของการดำรงอยู่ รวมทั้ง[[ดาวเคราะห์]] [[ดาวฤกษ์]] [[ดาราจักร]] สิ่งที่บรรจุอยู่ในอวกาศระหว่างดาราจักร และ[[สสาร]]และ[[พลังงาน]]ทั้งหมด<ref>{{cite book|url=http://www.yourdictionary.com/Universe|title=The American Heritage Dictionary of the English Language|edition=4th|year=2010 |publisher=Houghton Mifflin Harcourt Publishing Company}}</ref><ref>{{cite book |url=http://dictionary.cambridge.org/dictionary/british/universe?q=universe|title=Cambridge Advanced Learner's Dictionary}}</ref>
 
การสังเกตเอกภพทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเชื่อกันว่ามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 93,000 ล้านปีแสง<ref>{{cite book|author1=Itzhak Bars|author2=John Terning|title=Extra Dimensions in Space and Time|url=http://books.google.com/books?id=fFSMatekilIC&pg=PA27|accessdate=1 May 2011|date=November 2009|publisher=Springer|isbn=978-0-387-77637-8|pages=27–}}</ref> นำไปสู่อนุมานขั้นแรกเริ่มของเอกภพ การสังเกตเหล่านี้แนะว่า เอกภพถูกควบคุมด้วยกฎทางฟิสิกส์และค่าคงที่เดียวกันตลอดขนาดและประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ [[ทฤษฎีบิกแบง]]เป็นแบบจำลองจักรวาลวิทยาทั่วไปซึ่งอธิบายพัฒนาการแรกเริ่มของเอกภพ ซึ่งในจักรวาลวิทยากายภาพเชื่อว่าเกิดขึ้นเมื่อราว 13,700 ล้านปีก่อน<ref>{{cite web|last=Wollack|first=Edward J.|title=Cosmology: The Study of the Universe|url=http://map.gsfc.nasa.gov/universe/|work=Universe 101: Big Bang Theory|publisher=[[NASA]]|accessdate=27 April 2011|date=10 December 2010|archiveurl=https://web.archive.org/web/20110514230003/http://map.gsfc.nasa.gov/universe/|archivedate=2011-05-14|deadurl=no|url-status=live}}: « The second section discusses the classic tests of the Big Bang theory that make it so compelling as the likely valid description of our universe. »</ref><ref>
{{cite journal
| last = Komatsu | first = E.
| year = 2009
| title = Five-Year Wilkinson Microwave Anisotropy Probe Observations: Cosmological Interpretation
| journal = [[Astrophysical Journal Supplement]]
| volume = 180 | issue = 2 | page = 330
| bibcode = 2009ApJS..180..330K
| doi = 10.1088/0067-0049/180/2/330
| ref = harv
| display-authors = 1
| last2 = Dunkley
| first2 = J.
| last3 = Nolta
| first3 = M. R.
| last4 = Bennett
| first4 = C. L.
| last5 = Gold
| first5 = B.
| last6 = Hinshaw
| first6 = G.
| last7 = Jarosik
| first7 = N.
| last8 = Larson
| first8 = D.
| last9 = Limon
| first9 = M.
|arxiv = 0803.0547 }}</ref>
 
มีนักฟิสิกส์มากมายเชื่อสมมุติฐานเกี่ยวกับ[[พหุภพ]] ซึ่งกล่าวไว้ว่าเอกภพอาจเป็นหนึ่งในภพจำนวนมากที่มีอยู่เช่นกัน<ref>[http://www.astronomy.pomona.edu/Projects/moderncosmo/Sean%27s%20mutliverse.html multiverse]. Astronomy.pomona.edu. Retrieved on 2011-11-28.</ref><ref>Palmer, Jason. (2011-08-03) [http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-14372387 BBC News – 'Multiverse' theory suggested by microwave background]. Retrieved on 2011-11-28.</ref> ระยะทางไกลสุดที่เป็นไปได้ทางทฤษฎีแก่มนุษย์ที่จะมองเห็นอธิบายว่าเป็น เอกภพที่สังเกตได้ การสังเกตได้แสดงว่า เอกภพดูจะขยายตัวในอัตราเร่ง และมีหลายแบบจำลองเกิดขึ้นเพื่อพยากรณ์ชะตาสุดท้ายของเอกภพ
เส้น 54 ⟶ 25:
[[ไฟล์:Earth's Location in the Universe SMALLER (JPEG).jpg|thumb|500px|<center>แผนภาพตำแหน่งของโลกในสถานที่ต่างๆของเอกภพ</center>]]
 
== อ้างอิง ==
'''เชิงอรรถ'''
{{รายการอ้างอิง}}
{{notelist}}
 
{{รายการ'''อ้างอิง}}'''
{{reflist}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เอกภพ"