ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขาตัมโบรา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ethan2345678 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การปะทุในปีค.ศ. 1815: เปลี่ยนเป็นค.ศ.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 19:
| easiest_route = ทางตะวันออกเฉียงใต้: Doro Mboha<br>ทางตะวันตกเฉียงเหนือ: Pancasila
}}
'''เขาตัมโบรา''' ({{lang-id|Gunung Tambora}}) ตั้งอยู่บน[[เกาะซุมบาวา]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 2,850 เมตร ภูเขาไฟลูกนี้ได้เคยระเบิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1815 ทำให้มีผู้เสียชีวิตราว 71,000 คน และส่งผลกระทบไปยังทั่วทุกมุมโลก และเป็นต้นเหตุของ[[ปีไร้ฤดูร้อน|ปีที่ไร้ฤดูร้อน]]ในปีค.ศ. 1815 ซึ่งเป็นปีที่อากาศในช่วงฤดูร้อนผิดจากปกติ ที่มีผลในการทำลายพืชพันธุ์ธัญญาหารของ[[ยุโรปเหนือ]] ตะวันออกเฉียงเหนือของ[[สหรัฐอเมริกา]]และ[[ประเทศแคนาดา]]<ref>[http://www.singhasquare.com/academy/news/10628/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%95-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%9F-tambora.html วันนี้ในอดีต การระเบิดของภูเขาไฟ Tambor]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}. Singhasquare</ref> นานสองปี
 
==การปะทุในปีค.ศ. 1815==
{{บทความหลัก|การปะทุของเขาตัมโบรา พ.ศ. 2358}}
เมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1815 เขาตัมโบราได้เกิดปะทุขึ้น โดยแรงปะทุนั้นทำให้เกิดเสียงดังสนั่นหวั่นไหวได้ยินไกลไปถึง 850 กิโลเมตร ชาวบ้านได้รายงานว่า ต้นไม้บนเกาะล้มระเนระนาด และลาวาไหลนองท่วมพื้นบริเวณรอบภูเขาไฟ ทำให้ทุ่งนาถูกทำลาย และท้องฟ้าในบริเวณนั้นมืดมัว เพราะไร้แสงอาทิตย์นานถึง 2 วัน<ref>[http://pakxe.com/home/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=323 ภูเขาไฟ Tambora] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160304080852/http://pakxe.com/home/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=323 |date=2016-03-04 }}. ปากเซ</ref> การปะทุของเขาตัมโบราในครั้งนั้นได้ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดินฟ้าอากาศกับการระเบิดของภูเขาไฟดียิ่งขึ้น เพราะนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้รายงานว่า หลังจากที่เขาตัมโบราปะทุได้ไม่นานผิวโลกก็ได้รับแสงอาทิตย์น้อยลงถึงร้อยละ 20 และอุณหภูมิของอากาศในแถบซีกโลกเหนือได้ลดลงมาก เพราะในบรรยากาศเหนือโลกมีฝุ่น และละอองภูเขาไฟปะปนมากมาย ซึ่งเถ้าถ่านเหล่านี้ต้องใช้เวลานานหลายปีจึงจะตกสู่โลกหมด<ref>ศ.ดร.สุทัศน์ ยกส้า. [http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=148 "ภูเขาไฟ"]. ราชบัณฑิตยสถาน</ref>
 
==อ้างอิง==