ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชูอิจิ นางูโมะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แซนเซลเลอร์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แซนเซลเลอร์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
| serviceyears = ค.ศ.1908 – ค.ศ.1944
| rank = ร้อยตรี (ค.ศ.1910)<br>ร้อยโท (ค.ศ.1911)<br>ร้อยเอก (ค.ศ.1914)<br>พันตรี (ค.ศ.1920)<br>พันโท (ค.ศ.1924)<br>พันเอก (ค.ศ.1929)<br>พลตรี (ค.ศ.1935)<br>พลเรือโท (ค.ศ.1939 จนถึงการเสียชีวิต)<br>[[พลเรือเอก]] (แต่งตั้งหลังการเสียชีวิต)
| commands = [[วิทยาลัยการทัพเรือแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น]]<br>[[กองเรือที่ 3 แห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น]]<br>[[ที่ว่าการนาวิกโยธินซาเซโบ]]<br>[[ที่ว่าการนาวิกโยธินคุเระ]]<br>[[กองเรือที่ 1 แห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น]]<br>[[กองเรือพื้นที่แปซิฟิกกลาง]]<br>[[กองบินที่ 14|กองบินของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น|กองบินที่ 14]]
| unit = คิโด บุไต
| battles = '''สงครามโลกครั้งที่สอง'''<br/>[[การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์]]<br/>[[การทิ้งระเบิดดาร์วิน]]<br/>[[การตีโฉบฉวยมหาสมุทรอินเดีย]]<br/>[[ยุทธนาวีที่มิดเวย์]]<br/>[[ยุทธนาวีที่ตะวันออกของเกาะโซโลมอน]]<br/>[[ยุทธนาวีที่เกาะซานตากรุซ ]]<br/>ยุทธการที่ไซปัน{{KIA}}
บรรทัด 34:
10 เมษายน ค.ศ.1941 นากุโมะได้รับการแต่งตั้งเป็น[[ผู้บัญชาการทหาร|แม่ทัพใหญ่]]ประจำ[[กองบินที่ 1 แห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น|กองบินที่ 1]] ซึ่งการแต่งตั้งนี้ได้รับการยอมรับจาก[[โยชิดะ เซ็นโงะ]]และ[[อิโซโรกุ ยามาโมโตะ|ยามาโมโตะ อิโซโรกุ]] มีเรื่องเล่าว่า [[โอซาวะ จิซาบุโระ]]ก็เป็นหนึ่งในผู้สมัครชิงตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ประจำหน่วยนี้ แต่เสียงส่วนใหญ่ตัดสินให้แต่งตั้งนากุโมะ นอกจากนี้ยังมีความเห็นว่า สาเหตุที่นากุโมะได้รับการแต่งตั้งเป็นเพราะว่าเขาสามารถจัดการและบริหารงานได้ดีกว่าโอซาวะ หลังจากการแต่งตั้ง เขาก็ได้ให้พันโท[[เก็นดะ มิโนรุ]] ซึ่งเป็นผู้ชำนาญด้าน[[การบินนาวี]] ทำการซ้อมรบและฝึกฝนทหารให้มีความชำนาญ จากนั้นหน่วยของพวกเขาก็ได้เข้าร่วมในการโจมตี[[เพิร์ลฮาร์เบอร์]]
 
เขาเกือบจะเสียชีวิตในการรบที่[[มิดเวย์อะทอลล์|มิดเวย์]] เมื่อ[[เรือบรรทุกเครื่องบินญี่ปุ่นชั้นอาคากิ|เรืออะกางิ]]ที่เขาประจำการถูกโจมตีอย่างหนักโดยเรือรบของฝ่ายสหรัฐและเรือกำลังจะจมลง เขาและ[[คุซากะ ริวโนะสุเกะ]] ซึ่งเป็นนายทหารผู้ช่วย รวมทั้งคนอื่น ๆ ที่ยังรอดชีวิต สามารถหนีออกจากตัวเรือได้ แต่คุซากะได้รับบาดเจ็บจากบาดแผลที่ถูกไฟไหม้และข้อเท้าเคล็ดทั้งสองข้าง จากการพ่ายแพ้ครั้งนี้ ญี่ปุ่นได้เกิดความสูญเสียเป็นจำนวนมากและเริ่มเสียเปรียบทางกลยุทธ์ใน[[สงครามแปซิฟิก|มหาสมุทรแปซิฟิก]] ในตอนแรก นากุโมะคิดที่จะฆ่าตัวตาย แต่คุซากะได้มาห้ามปรามเอาไว้ ว่ากันว่า หลังจากยุทธการ นากุโมะดูเหมือนจะสูญเสียความมั่นใจและสูญเสียประสิทธิภาพในการบัญชาการเป็นอย่างมาก และการบัญชาการรบของเขาในช่วงหลัง ๆ เริ่มสูญเสียประสิทธิภาพ
 
ต่อมาเขาได้รับมอบหมายให้ควบคุมที่ว่าการนาวิกโยธินซาเซโบและที่ว่าการนาวิกโยธินคุเระ ซึ่งเขาใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการฝึกอบรมเท่านั้น
[[ไฟล์:Hideo Yano and Chūichi Nagumo.jpg|thumb|288x288px|พลโทนากุโมะ (ทางขวา) กับ พลตรี[[ยาโนะ ฮิเดโอะ|ยาโนะ]] (ทางซ้าย) ในเกาะไซปัน]]
วันที่ 4 มีนาคม ค.ศ.1944 เขาได้รับมอบหมายให้บัญชาการกองเรือที่ 14 และกองเรือพื้นที่แปซิฟิกกลางในบริเวณ[[หมู่เกาะมาเรียนา]] เมื่อการรบที่ไซปันได้เปิดฉากในวันที่ 15 มิถุนายน พบว่ากองเรือที่นำทัพโดยโอซาวะได้ถูก[[กองเรือที่ 5 ของสหรัฐ|กองเรือที่ 5]] เข้าโจมตีอย่างหนักใน[[ยุทธนาวีที่ทะเลฟิลิปปิน]] ซึ่งญี่ปุ่นสูญเสียเรือบรรทุกเครื่องบิน 3 ลำและเครื่องบินประมาณ 600 ลำ ทำให้กองกำลังที่ประจำการอยู่เกาะไซปัน มีเพียงตัวนากุโมะ, พลโทยาโนะ ฮิเดโอะ และ พลโท[[ไซโตะ โยชิสึกุ]]คอยบัญชาการ หลังจากการต่อสู้ประมาณ 20 วัน นากุโมะก็ได้ตัดสินใจใช้ปืนยิงตนเองเสียชีวิต ว่ากันว่า หลังจากที่กองทัพสหรัฐเข้ายึดเกาะไซปันได้ พลเรือเอก[[เรย์มอนด์ เอ. สพรัวนซ์]]รู้สึกพอใจพึงพอใจกับการตัดสินใจของนากุโมะ ในวันที่ 8 กรกฎาคม นากุโมะได้รับการแต่งตั้งย้อนหลังให้เป็นพลเรือเอกในวันที่ 8 กรกฎาคม
 
== ในวัฒนธรรมสมัยใหม่ ==
วันที่ 4 มีนาคม ค.ศ.1944 เขาได้รับมอบหมายให้บัญชาการกองเรือที่ 14 และกองเรือพื้นที่แปซิฟิกกลางในบริเวณ[[หมู่เกาะมาเรียนา]] เมื่อการรบที่ไซปันได้เปิดฉากในวันที่ 15 มิถุนายน พบว่ากองเรือที่นำทัพโดยโอซาวะได้ถูก[[กองเรือที่ 5 ของสหรัฐ|กองเรือที่ 5]] เข้าโจมตีอย่างหนักใน[[ยุทธนาวีที่ทะเลฟิลิปปิน]] ซึ่งญี่ปุ่นสูญเสียเรือบรรทุกเครื่องบิน 3 ลำและเครื่องบินประมาณ 600 ลำ ทำให้กองกำลังที่ประจำการอยู่เกาะไซปัน มีเพียงตัวนากุโมะและพลโท[[ไซโตะ โยชิสึกุ]]คอยบัญชาการ หลังจากการต่อสู้ประมาณ 20 วัน นากุโมะก็ได้ตัดสินใจใช้ปืนยิงตนเองเสียชีวิต ว่ากันว่า หลังจากที่กองทัพสหรัฐเข้ายึดเกาะไซปันได้ พลเรือเอก[[เรย์มอนด์ เอ. สพรัวนซ์]]รู้สึกพอใจกับการตัดสินใจของนากุโมะ ในวันที่ 8 กรกฎาคม นากุโมะได้รับการแต่งตั้งย้อนหลังให้เป็นพลเรือเอก
 
=== ภาพยนตร์ ===
 
* [[พญาอินทรีแห่งแปซิฟิก]] สร้างในปี ค.ศ.1953 กำกับโดย ค่าย[[โตโฮ]] นำแสดงโดย [[มิอาเกะ บงทาโระ]]
* จอมพลยามาโมโตะและกองเรือผสม สร้างในปี ค.ศ.1956 กำกับโดย ค่าย[[ชินโตโฮ]] นำแสดงโดย [[ฟุจิตะ สุซูมุ]]
* [[พายุโหมแปซิฟิก]] สร้างในปี ค.ศ.1960 กำกับโดย ค่ายโตโฮ นำแสดงโดย [[คาวาสุ เซซาบุโระ]]
* [[เร็นโงะ คันไต ชิเรโจคัง ยามาโมโตะ อิโซโรกุ]] สร้างในปี ค.ศ.1968 กำกับโดย ค่ายโตโฮ นำแสดงโดย ฟุจิตะ สุซูมุ
* [[โทระ โทระ โทระ]] สร้างในปี ค.ศ.1970 กำกับโดย[[ทเวนตีท์เซนจูรีสตูดิโอส์]] ค่าย นำแสดงโดย [[โทโนะ เอจิโระ]]
* [[เกคิโด โนะ โชวะชิ 'กุนบัตสึ']] สร้างในปี ค.ศ.1970 กำกับโดย ค่ายโตโฮ นำแสดงโดย [[โทะรุ อะเบะ|อาเบะ โทรุ]]
* [[มิดเวย์ (ภาพยนตร์ ค.ศ.1976)|มิดเวย์]] สร้างในปี ค.ศ.1976 กำกับโดย [[ยูนิเวอร์แซลสตูดิโอส์|ยูนีเวอร์แซล]] นำแสดงโดย [[เจมส์ ชิเงตะ]]
* [[เร็นโงะ คันไต (ภาพยนตร์)|กองทัพเรือจักรวรรดิ]] สร้างในปี ค.ศ.1981 กำกับโดย ค่ายโตโฮ นำแสดงโดย [[โนะบุโอะ คะเนะโกะ|คาเนโกะ โนบุโอะ]]
* [[จักรวรรดิญี่ปุ่น (ภาพยนตร์)|ไดนิปปงเตโกกุ]] สร้างในปี ค.ศ.1982 กำกับโดย ค่าย[[โทเอคอมเปนี|โทเอ]] นำแสดงโดย [[ยามากุจิ อะกิโอะ]]
* โอบะ ซามูไรคนสุดท้าย สร้างในปี ค.ศ.2011 กำกับโดย ค่ายโตโฮ นำแสดงโดย [[โอบามิ ทามิโอะ]]
* [[พลเรือเอก อิโซโรกุ (ภาพยนตร์)|พลเรือเอก อิโซโรกุ]] สร้างในปี ค.ศ.2011 กำกับโดย ค่าย[[โทเอคอมเปนี|โทเอ]] นำแสดงโดย [[นากาฮาระ ทาเกโอะ]]
* [[มิดเวย์ (ภาพยนตร์ ค.ศ.2019)|มิดเวย์]] สร้างในปี ค.ศ.2019 กำกับโดย [[ไลออนส์เกตฟิล์มส์]] และ [[เอเลเวชัน พิกเจอร์ส]] นำแสดงโดย [[คุนิมุระ จุน]]
 
=== ละครโทรทัศน์ ===
 
* [[อุมิ นิ คาเครุ นิจิ〜ยามาโมโตะ อิโซโรกุ โตะ นิปปงไคกุน|สายรุ้งเหนือทะเล〜ยามาโมโตะ อิโซโรกุและกองทัพเรือญี่ปุ่น]] สร้างในปี ค.ศ.1983 กำกับโดย [[ทีวีโตเกียว]] นำแสดงโดย คาเนโกะ โนบุโอะ
 
=== เกม ===
 
* ชุดซีรีย์[[เตโตกุ โนะ เค็ตสึดัน]] (สร้างเป็น 4 ภาค ได้แก่ ปี ค.ศ.1989, ค.ศ.1993, ค.ศ.1996 และ ค.ศ.2001) สร้างโดย ค่าย[[โคเอะ]]
 
== อ้างอิง ==
เส้น 55 ⟶ 80:
[[หมวดหมู่:ทหารชาวญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์]]
<references />