ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุโมงค์พระพุทธฉาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Phra Putthachai Tunnel.JPG|250px|thumbnail|right|อุโมงค์พระพุทธฉาย]]
'''อุโมงค์พระพุทธฉาย''' เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอด 1 ใน 7 แห่งของไทย และเป็นอุโมงค์เพียงแห่งเดียวใน[[ทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันออก|เส้นทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันออก]] มีความยาวรองจาก[[อุโมงค์ขุนตาน]]เพียงแห่งเดียว ตัวอุโมงค์ยาว 1,197 เมตร ภายในเป็นผนังคอนกรีต รูปแบบก่อสร้างเป็นรูปเกือกม้า กว้าง 7 เมตร สูง 5.5 เมตร ใช้หมอนคอนกรีตและรางเชื่อม 100 ปอนด์<ref>[{{Cite web |url=http://www.tapladuk.go.th/phocadownload/data/kuntan.pdf |title=ประวัติอุโมงค์ขุนตาน และการก่อสร้างอุโมงค์ขุนตาน] |access-date=2013-10-08 |archive-date=2014-08-08 |archive-url=https://web.archive.org/web/20140808052405/http://www.tapladuk.go.th/phocadownload/data/kuntan.pdf |url-status=dead }}</ref> ตั้งอยู่ระหว่าง[[สถานีรถไฟบุใหญ่]] กับ[[สถานีรถไฟวิหารแดง]] ในเขตตำบลพระฉาย [[อำเภอเมืองสระบุรี]] [[จังหวัดสระบุรี]]
 
== การก่อสร้าง ==
อุโมงค์พระพุทธฉาย เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ [[1 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2536]] แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 ด้วยงบประมาณ 127.5 ล้านบาท เปิดใช้อย่างเป็นทางการใน'''วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2538''' <ref>http://www.yimsiam.com/club/board/topicRead.asp?wbID=civil-srt&id=000006{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> นับเป็นอุโมงค์รถไฟลอดฝีมือคนไทยที่ยาวที่สุด<ref>http://www.wahwoon.com/board/index.php?topic=2680.0</ref>
 
วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ว่าจ้างให้บริษัท ไร้ท์ทันเน็ลลิ่ง จำกัด ดำเนินโครงการงานก่อสร้างอุโมงค์รถไฟรางคู่ "'''อุโมงค์พระพุทธฉายแห่งที่สอง'''" (ฉะเชิงเทรา-คลองสิบเก้า-แก่งคอย สัญญาที่ 2 ช่วงอุโมงค์พระพุทธฉาย) โดยเทคนิค New Austrian tunneling method (NATM) <ref>https://www.matichon.co.th/news/564578</ref>