ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชายฝั่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพื่อความรู้
Bridget (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2001:FB1:135:C8DF:E0AE:28C2:7D49:7D89 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Thas Tayapongsak
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.4]
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Genipabu-Natal.jpg|thumb|ชายฝั่งทางตะวันออกของบราซิล]]
 
'''อร่อยชายฝั่ง''' คือแนวชาย[[ทะเล]]ขึ้นไปบนบกจนถึงบริเวณที่มีลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัด มักมีลักษณะโค้งและเว้าแตกต่างกันออกไป บ้างก็เป็นหน้าผาหินสูงชัน และบางแห่งก็เป็นชายหาดระดับต่ำที่แผ่ขยายออกไปกว้างขวางแทรกสลับอยู่ระหว่าง[[ภูเขา]]และโขดหิน แรงที่ทำให้เกิดรูปร่างของชายฝั่งแบบต่าง ๆ เกิดจากแรงจากกระแส[[คลื่น]]และลมในทะเลที่ก่อให้เกิดขบวนหินการขบวนการกัดกร่อน พัดพาและสะสมตัวของ[[ตะกอน]] เศษหินและแร่ที่เกิดจากขบวนการภายในโลกที่ทำให้เปลือกโลกเกิดการยกตัวหรือจมตัวไม่ใช้แต่ว่ามันคือขี้ขี้ขี้ขี้ขี้ขี้
 
== การจำแนกชนิดของชายฝั่งทะเล ==
# ชายฝั่งทะเลปฐมภูมิ (Primary shore lines and coasts) ชายฝั่งที่แสดงรูปร่างอันเนื่องมาจากตัวกลางจากบนบกมากกว่าทะเล
## ชายฝั่งจากการกัดกร่อนบนบก (Land Erosion coasts) เกิดการกัดกร่อนบนบกก่อนตามด้วยน้ำทะเลท่วม
##* ชายฝั่งเว้าแหว่ง (Ria coasts) หุบเขาใต้ทะเล (ขี้drowed river valley)
##* ชายฝั่งหุบเขาน้ำแข็งจมตัว (Drowed glacial erosion coast) เช่น fjord,glacial troughs
##* ชายฝั่งเตาขนมครกจมตัว (Drowned Karst topography)
บรรทัด 36:
 
== การกัดกร่อนโดยคลื่น ==
ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการกัดกร่อนชายฝั่งก็คือ การกระทำของคลื่น (Wave activity) แรงปะทะของคลื่นอาจรุนแรงมากกว่าแรงขับเคลื่อนของน้ำในมหาสมุทรมาก และเมื่อคลื่นเข้าปะทะชายฝั่งอาจพัดพาเอากรวดขนาดใหญ่มาด้วย ทำให้ชายฝั่งบริเวณนั้นพังทลายหรือเปลี่ยนรูปร่างไปได้ การผุพังดังกล่าวมักเกิดควบคู่ไปกับการผุพังทางเคมี การผุพังทางเคมีจะช่วยทำให้รอยแตกนั้นขยายใหญ่ขึ้นเมื่อถูกคลื่นปะทะอยู่เป็นเวลานาน ๆ จากรอยแตกกลายเป็นโพรงขนาดเล็ก (sea notch) และกลายเป็นถ้ำ (sea cave) ในที่สุดชายหาดบางแห่งที่มีหน้าผาเป็นแหลมยื่น จะถูกคลื่นกัดเซาะจนเกิดเป็นโพรงทะลุไปยังอีกด้านหนึ่งของแหลม เหลือให้เห็นเพียงส่วนบนที่ยังต่ออยู่ระหว่างแผ่นดินกับแหลมที่ยื่นออกไป เรียกลักษณะของผาทะเลนี้ว่าโค้งทะเล (sea arches) เมื่อการกัดเซาะยังเกิดต่อไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งส่วนต่อดังกล่าวถูกกัดเซาะไปหมดจะทำให้ส่วนที่ยื่น ถูกตัดขาดจากแผ่นดินเรียกว่าโขดทะเล (sea staไม่รู้stack)
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* หนังสือธรณีวิทยากายภาพ,ปัญญา จารุศิริ 2545