ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิทธิโดยแผ่นดิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 1:
'''สิทธิโดยแผ่นดิน'''<ref>คำนิยาม "สิทธิโดยแผ่นดิน" จาก ''"หนังสืออธิบายศัพท์การทูตและการเมืองระหว่างประเทศ ฯพณฯเอกอัครราชทูต กลศ วิเศษสุรการ"'' [http://www.mfa.go.th/web/856.php?code=j] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20091220084938/http://www.mfa.go.th/web/856.php?code=j |date=2009-12-20 }}</ref> ({{lang-en|Jus soli}}) เป็นสำนวน[[ภาษาลาติน]]ที่หมายความว่า "law of ground" หรือ "ตามกฎของแผ่นดิน[ที่ตั้งถิ่นฐาน]" หรือ "สิทธิของการเป็นพลเมือง" เป็นสิทธิที่[[เชื้อชาติ]] หรือ [[สัญชาติ]]เป็นสิ่งที่เป็นของบุคคลที่เกิดในดินแดนนั้น<ref>{{cite book | last = Vincent | first = Andrew | authorlink = | coauthors = | title = Nationalism and particularity | publisher = Cambridge University Press | date = 2002 | location = Cambridge; New York | pages = | url = | doi = | id = | isbn = }}</ref> เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 [[รัฐชาติ]]แบ่งเป็นสองกลุ่มๆ หนึ่งมอบสัญชาติให้แก่บุคคลตามกฎ “สิทธิโดยแผ่นดิน” (เช่น[[ฝรั่งเศส]]) และอีกกลุ่มหนึ่งที่มอบสัญชาติให้แก่บุคคลตามกฎ “[[สิทธิโดยสายโลหิต]]” (jus sanguinis) (เช่น[[เยอรมนี]] ก่อน ค.ศ. 2000) แต่ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปเลือกปรัชญาสิทธิสัญชาติแบบเยอรมันที่เรียกว่า "objective nationality" หรือสัญชาติโดยจุดประสงค์ โดยใช้สายเลือด, ชาติพันธุ์ (Race) หรือภาษาเป็นเครื่องวัด และเป็นปฏิปักษ์ต่อปรัชญา "subjective nationality" หรือสัญชาติโดยการพิจารณา ซึ่งเป็นการให้สิทธิสัญชาติโดยการใช้ความสัมพันธ์ของบุคคลต่อแผ่นดินที่ตั้งถิ่นฐานเป็นเครื่องวัดซึ่งเป็นปรัชญาพื้นฐานของการให้สัญชาติ “สิทธิโดยแผ่นดิน” ได้ ในปัจจุบันจำนวนผู้อพยพที่ไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่ไม่ใช่บ้านเกิดมีจำนวนมากขึ้นทำให้ความแตกต่างของปรัชญาสิทธิสองปรัชญานี้เริ่มจะลางเลือนขึ้น
 
ประเทศที่[[อนุสัญญาว่าด้วยการลดจำนวนผู้ไร้ชาติ ค.ศ. 1961]] (1961 Convention on the Reduction of Statelessness) ทำความตกลงให้สัญชาติแก่ผู้ที่ไร้สัญชาติผู้ที่เกิดในดินแดน หรือ บนเรือ หรือ บนเรือบินของชาตินั้น