ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่มอสโก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 39:
 
=== แผนการ ===
สำหรับฮิตเลอร์ เมืองหลวของสหภาพโซเวียตเป็นเป้าหมายรอง และเขามีความเชื่อว่าวิธีเดียวเท่านั้นที่จะทำให้สหภาพโซเวียตยอมสยบแทบเท้าลงได้คือการเอาชนะทางเศรษฐกิจ เขาจึงมีความคิดที่ว่าสิ่งนี้สามารถทำได้โดยการเข้ายึดครองทรัพยากรทางเศรษฐกิจของยูเครนทางตะวันออกของเคียฟ{{sfn|Flitton|1994}} เมื่อ[[วัลเทอร์ ฟ็อน เบราคิทช์]] ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพบกเยอรมัน ได้ให้การสนับสนุนในการเข้ารุกโดยตรงสู่กรุงมอสโก เขาได้บอกว่า "มีเพียงสมองที่หุ้มด้วยกะโหลกหนา ๆ ที่สามารถจะคิดไอเดียนี้ได้"{{sfn|Flitton|1994}} ฟรันทซ์ ฮัลเดอร์ หัวหน้าคณะเสนาธิการแห่งกองทัพบกยังมีความเชื่อมั่นว่า การผลักดันเพื่อเข้ายึดกรุงมอสโกจะได้รับชัยชนะ ภายหลังจากกองทัพบกเยอรมันได้สร้างความเสียหายมากพอให้กับกองทัพโซเวียต<ref>{{cite book|last=Niepold|first=Gerd|title=The Initial Period of War on the Eastern Front, 22 June – August 1941: Proceedings of the Fourth Art of War Symposium, Garmisch, FRG, October 1987|publisher=Psychology Press|year=1993|isbn=978-0714633756|editor=David M. Glantz|series=Cass series on Soviet military theory and practice|volume=2|page=67|chapter=Plan Barbarossa|chapter-url=https://books.google.com/books?id=yg4V2momdSAC&pg=PA67}}</ref> มุมมองนี้ถูกแบ่งปันโดยส่วนใหญ่ภายในกองบัญชาการใหญ๋เยอรมัน{{sfn|Flitton|1994}} แต่ฮิตเลอร์ได้ปฏิเสธนายพลของเขาเพื่อสนับสนุนให้ทำการโอบล้อมกองทัพโซเวียตรอบเมืองเคียฟในทางตอนใต้ และตามมาด้วยการเข้ายึดครองยูเครน การเคลื่อนไหวครั้งนี้ได้ประสบความสำเร็ว ส่งผลลัพธ์ทำให้เกิดการสูญเสียบุคลากรของกองทัพแดงจำนวนเกือบ 700,000 นาย ล้วนถูกสังหาร ถูกจับกุม หรือบาดเจ็บในวันที่ 26 กันยายน และกองกำลังฝ่ายอักษะได้เข้ารุกคืบหน้าต่อไป{{sfn|Glantz|House|1995|p=293}}
{{โครง-ส่วน}}
 
เมื่อสิ้นสุดฤดูร้อน ฮิตเลอร์ได้หันเหความสนใจไปยังกรุงมอสโกและมอบหมายให้แก่กองทัพกลุ่มกลางในการทำภารกิจครั้งนี้ กองกำลังที่จะดำเนินปฏิบัติการไต้ฝุ่น ได้แก่ กองทัพทหารราบทั้งสาม (ที่ 2 ที่ 4 และที่ 9<ref name=":0">{{Cite book|last=Stahel|first=David|title=Operacja "Tajfun"|work=Książka i Wiedza|year=2014|isbn=978-83-05-136402|location=Warsaw|pages=89}}</ref>) โดยได้รับการสนับสนุนโดยกลุ่มยานเกราะ(รถถัง) ทั้งสาม (ที่ 2 ที่ 3 และที่ 4) และกองบินที่ 2 (Luftflotte 2) ของลุฟท์วัฟเฟอ กองทหารเยอรมันจำนวนมากถึงสองล้านนายได้เข้าร่วมปฏิบัติการ พร้อมกับรถถังและปืนใหญ่จู่โจมจำนวน 1,000–2,470 คัน และอาวุธปืนจำนวน 14,000 กระบอก กองกำลังทางอากาศที่แข็งแกร่งของเยอรมัน อย่างไรก็ตาม ได้ถูกลดทอนลงอย่างมากในช่วงฤดูร้อนของการทัพ ลุฟท์วัฟเฟอสูญเสียเครื่องบินรบจำนวน 1,603 ลำ และได้รับเสียหายจำนวน 1,028 ลำ กองบินที่ 2 มีเครื่องมือที่สามารถซ่อมบำรุงเครื่องบินรบได้แค่เพียง 549 ลำ ร่วมทั้งเครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดกลางและเครื่องบินดำดิ่งทิ้งระเบิดจำนวน 158 ลำ และเครื่องบินขับไล่ 172 ลำ ที่สามารถใช้งานได้สำหรับปฏิบัติการไต้ฝุ่น<ref>Bergstöm 2007, p. 90.</ref> การโจมตีอาศัยกลยุทธ์บลิทซ์ครีคแบบมาตรฐาน โดยการใช้กลุ่มยานเกราะให้พุ่งเข้าลึกสู่แนวรบของโซเวียตและดำเนินการเคลื่อนทัพรูปแบบก้ามปูสองด้าน ทำการโอบล้อมกองพลของกองทัพแดงและทำลายล้างให้สิ้นซาก<ref>Guderian, pp. 307–09.</ref>
 
ทั้งสามแนวรบของโซเวียตที่เผชิญหน้ากับ[[แวร์มัคท์]] ได้สร้างแนวป้องกันตามเมืองเวียซมาและบรืย์อันสค์ ซึ่งได้ขวางเส้นทางสู่กรุงมอสโก กองทัพประกอบไปด้วยแนวรบเหล่านี้ได้มีส่วนร่วมในการสู้รบอย่างหนัก ยังคงเป็นการรวมพลที่ดูน่าเกรงขามซึ่งประกอบด้วยทหารจำนวน 1,250,000 นาย รถถัง 1,000 คัน และปืนจำนวน 7,600 กระบอก [[กองทัพอากาศโซเวียต]](''Voyenno-Vozdushnye Sily'', VVS) ได้ประสบความสูญเสียที่น่าตกใจด้วยบางส่วนของเครื่องบินรบจำนวนประมาณ 7,500 ลำ<ref name="Hardesty612">Hardesty, 1991, p. 61.</ref> และ 21,200 ลำ<ref>Bergström 2007, p. 118.</ref> การสำเร็จด้านอุตสาหกรรมที่ไม่ธรรมดาได้เริ่มเข้ามาแทนที่สิ่งเหล่านี้ ในช่วงเริ่มต้นของไต้ฝุ่น กองทัพอากาศโซเวียตสามารถรวบรวมเครื่องบินรบ 936 ลำ โดยมี 578 ลำเป็นเครื่องบินทิ้งระเบิด<ref>Bergström 2007, pp. 90–91.</ref>
 
ครั้งหนึ่งที่การต่อต้านของโซเวียตตามแนวรบเวียซมา-บรืย์อันสค์ต้องถูกกำจัด กองทัพเยอรมันจะต้องผลักดันไปทางตะวันออก ทำการโอบล้อมกรุงมอสโกโดยขนาบข้างจากทางเหนือและทางใต้ การสู้รบอย่างต่อเนืองทำให้ประสิทธิภาพได้ลดลง และปัญหาทางด้านโลจิสติกส์ก็สาหัสมากขึ้น นายพล[[ไฮนทซ์ กูเดรีอัน|กูเดรีอัน]] ผู้บัญชาการแห่งกองทัพยานเกราะที่ 2 ได้เขียนว่า บางส่วนของรถถังที่ถูกทำลายของเขาไม่อาจหามาแทนที่ได้เลย และมีการขาดแคลนเชื้อเพลิงในช่วงเริ่มต้นของปฏิบัติการ<ref>Guderian, p. 307</ref>
 
=== ยุทธการที่เวียซมาและบรืย์อันสค์ ===
{{บทความหลัก|ยุทธการที่บรืย์อันสค์ (ค.ศ. 1941)|}}เยอรมันได้เข้าโจมตีตามแผนที่ได้วางเอาไว้ โดยกลุ่มยานเกราะที่ 4 จะบุกเขาตรงกลางที่แทบจะไร้การต่อต้าน และจากนั้นก็แบ่งกองกำลังเคลื่อนที่เร็วไปทางเหนือเพื่อโอบล้อมเวียซมาด้วยกลุ่มยานเกราะที่ 3 และอีกหน่วยหนึ่งไปทางใต้เพื่อโอบล้อมรอบบรืย์อันสค์ร่วมกับกลุ่มยานเกราะที่ 2 ฝ่ายป้องกันของโซเวียต ซึ่งยังคงอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ได้ถูกรุกราน และหัวหอกของกลุ่มยานเกราะที่ 3 ที่ 4 ได้เข้าสมทบกันที่เวียซมา เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1941<ref name="Clark">Clark Chapter 8,"The Start of the Moscow Offensive", p. 156 (diagram)</ref><ref name="GlantzVAB">Glantz, chapter 6, sub-ch. "Viaz'ma and Briansk", pp. 74 ff.</ref> กองทัพโซเวียตทั้งสี่ (ที่ 16 ที่ 19 ที่ 20 ที่ 24 และส่วนหนึ่งของที่ 32) ได้ถูกโอบล้อมอยู่ในวงล้อมขนาดใหญ่ทางตะวันตกของเมือง<ref name="Vasilevsky139">Vasilevsky, p. 139.</ref>
 
[[File:Map Operation Typhoon.jpg|thumb|upright=1.3|left|การรุกของเยอรมันในช่วงปฏิบัติการไต้ฝุ่น]]
 
{{โครง-ส่วน}}