ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อินเจนูอิตี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Huntster (คุย | ส่วนร่วม)
Thitut (คุย | ส่วนร่วม)
revamp the section — up to date
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
บรรทัด 103:
การสื่อสารกับยานสำรวจดาวอังคารนั้นผ่านการเชื่อมต่อทางวิทยุด้วย[[โพรโทคอล|โพรโทคอลสื่อสาร]]พลังงานต่ำของซิกบี บนคลื่น 914 [[เฮิรตซ์|MHz]] ดำเนินการผ่านชิปเซตไซเฟลคซ์ 02 ซึ่งติดอยู่ทั้งในยานสำรวจดาวอังคารและเฮลิคอปเตอร์ดาวอังคาร<ref name=":5">{{Cite journal|last1=Chahat|first1=Nacer|last2=Miller|first2=Joshua|last3=Decrossas|first3=Emmanuel|last4=McNally|first4=Lauren|last5=Chase|first5=Matthew|last6=Jin|first6=Curtis|last7=Duncan|first7=Courtney|date=December 2020|title=The Mars Helicopter Telecommunication Link: Antennas, Propagation, and Link Analysis|url=https://ieeexplore.ieee.org/document/9096535|journal=IEEE Antennas and Propagation Magazine|volume=62|issue=6|pages=12–22|doi=10.1109/MAP.2020.2990088|issn=1045-9243}}</ref> ระบบสื่อสารนั้นถูกออกแบบมากดเพื่อส่งข้อมูลที่ 250 kbit/s ในระยะทางถึง {{cvt|1000|m}}.<ref name=":5" /> เฮลิคอปเตอร์สำรวจดาวอังคารใช้เสาอากาศแบบเสาเดี่ยวน้ำหนักเบาบนเซลล์แสงอาทิตย์ของเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งใช้เป็นระนาบพื้นขนาดใหญ่ที่ถูกออกแบบให้สามารถสื่อสารได้เท่ากันในทุกทิศทาง<ref name=":5" /> ยานสำรวจดาวอังคารขนเสาอากาศแบบเสาเดียวสำหรับสื่อสารกับเฮลิคอปเตอร์เช่นกัน แม้จะเป็นเสาอากาศที่มีขนาดใหญ่กว่ามาก<ref name=":5" />
 
==รายละเอียดภารกิจ==
==การขึ้นบินและการควบคุมการบินบนดาวอังคาร==
ภายหลังจากการปล่อยตัว ยานสำรวจดาวอังคารได้เคลื่อนออกมาจากโดรนประมาณ {{cvt|100|m}} ไปให้มีเขตการบินปลอดภัย<ref name="ibtimes.com" /><ref name="Universe2018" /> เฮลิคอปเตอร์ ''อินเจนูอิตี'' นั้นถูกคาดว่าจะสามารถบินขึ้นได้ห้าครั้ง ระหว่างช่วงทดสอบสามสิบวัน ในระยะเริ่มต้นในภารกิจของยานสำรวจดาวอังคาร <ref name="landing press kit" /><ref name="spacenews 20180504" />
วิศวกรของ[[นาซา]]จะติดตั้งเฮลิคอปเตอร์บนส่วนท้องของยาน[[เพอร์เซเวียแรนส์]] และเมื่อยานสำรวจหลักลงจอดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็จะสำรวจหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อที่จะปล่อยเฮลิคอปเตอร์ลงสู่พื้นดิน โดยยานสำรวจหลักจะรักษาระยะห่างจากเฮลิคอปเตอร์เพื่อรักษาความปลอดภัยในขณะที่เฮลิคอปเตอร์กำลังขึ้นบินสำรวจ
[[File:Ingenuity Helicopter with fully deployed legs (cropped).png|left|thumb|''อินเจนูอิตี'' ในสถานะพร้อมปล่อยตัว]]
ในการบินแต่ละครั้ง มีการวางแผนการบินที่ความสูงตั้งแต่ {{cvt|3|-|5|m|0}} เหนือพื้นดิน ถึงกระนั้น ในไม่ช้า ''อินเจนูอิตี'' สามารถบินไปสูงกว่าความสูงที่วางแผนไว้ได้<ref name="landing press kit" /> การบินครั้งแรกเป็นการลอยตัวที่ความสูง {{cvt|3|m}} นานประมาณ 40 วินาที และรวมถึงมีการถ่ายภาพยานสำรวจดาวอังคารด้วย ภายหลังจากความสำเร็จของการบินครั้งแรก การบินครั้งต่อๆ มาจึงมีความทะเยอทะยานมากขึ้น เพราะเวลาที่ถูกจัดสรรไว้สำหรับบการใช้งานเฮลิคอปเตอร์ลดลงไปเรื่อยๆ เจพีแอลแจ้งว่า ภารกิจอาจจะจบก่อนครบช่วงสามสิบวัน ในกรณีที่เป็นไปได้สูงว่าเฮลิคอปเตอร์จะตก<ref name="PreflightBriefing" />{{rp|0:49:50–0:51:40}} ซึ่งเป็นผลลัพธ์ที่ไม่เกิดขึ้น ในการบิน 90 วินาที ต่อครั้ง ''อินเจนูอิตี'' สามารถเดินทางไปได้ไกลถึง {{cvt|50|m}} ในแนวระนาบ และกลับมายังจุดเริ่มต้น โดยนั้นก็เป็นเป้าหมายที่ถูกก้าวข้ามอย่างรวดเร็วในการบินครั้งที่สี่<ref name="landing press kit" />{{sfn|Status 297}} ''อินเจนูอิตี'' ใช้[[หุ่นยนต์อัตโนมัติ|ระบบควบคุมอัตโนมัติ]]ระหว่างการบินของมัน ซึ่งถูกวางแผนและออกคำสั่งจากระยะไกลโดยผู้ควบคุมที่ [[ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น]] (เจพีแอล) มันสื่อสารกับยานสำรวจดาวอังคาร ''เพอร์เซเวียแรนส์'' โดยตรง ทั้งก่อนและหลังการลงจอดแต่ละครั้ง<ref name="PreflightBriefing" />{{rp|1:20:38–1:22:20}}
 
ภายหลังการบินสำเร็จสามครั้งแรก วัตถุประสงค์นั้นถูกเปลี่ยนจากการสาธิตเทคโนโลยี เป็นการสาธิตการปฏิบัติการ เป้าหมายนั้นเปลี่ยนไปสู่การสนับสนุนภารกิจของยานสำรวจดาวอังคาร โดยการทำแผนที่และดูลาดเลาภูมิประเทศ<ref>{{cite web |title=Breaking: Mars Helicopter Is Now A Fully Operational Partner Of Perseverance |url=https://www.iflscience.com/space/breaking-mars-helicopter-is-now-a-fully-operational-partner-of-perseverance/ |website=IFLScience |access-date=30 April 2021 |language=en}}</ref> ระหว่างที่ ''อินเจนูอิตี'' จะสนับสนุน ''เพอร์เซเวียแรนส์'' มากขึ้น ตัวยานสำรวจดาวอังคารจะให้ความสนใจกับเฮลิคอปเตอร์ลดลง และจะเลิกถ่ายภาพการบินของมัน ผู้จัดการเจพีแอลแจ้งว่า ขั้นตอนการถ่ายภาพใช้เวลา "มหาศาล" ดึงภารกิจหลังของโครงการในการหาร่องรอยของสิ่งมีชีวิตโบราณให้ช้าลง<ref>{{cite web |last1=Gohd |first1=Chelsea |title=NASA extends Mars helicopter Ingenuity's high-flying mission on Red Planet |url=https://www.space.com/nasa-mars-helicopter-ingenuity-mission-extended |website=Space.com |access-date=10 June 2021 |date=April 30, 2021}}</ref> ในวันที่ 30 เมษายน 2021 การบินครั้งที่สี่สามารถถ่ายภาพสีได้เป็นจำนวนมาก และได้สำรวจพื้นผิวด้วยกล้องสำรวจขาว-ดำ{{sfn|Status 297}} ในวันที่ 7 พฤษภาคม ''อินเจนูอิตี'' ได้บินไปยังจุดลงจอดใหม่ได้สำเร็จ
เนื่องจากดาวอังคารอยู่ห่างจากโลกมาก ทำให้การควบคุมการบินจากโลกนั้นยากลำบาก เฮลิคอปเตอร์ลำนี้จึงถูกสร้างขึ้นมาให้สามารถบินได้เองอัตโนมัติ และเนื่องจากชั้นบรรยากาศของ[[ดาวอังคาร]]เบาบางมาก ที่ระดับพื้นผิวของดาวอังคารมีความดันอากาศเท่ากับที่ระดับความสูง 30,480 เมตร (100,000 ฟุต) จากพื้นผิวโลก ซึ่ง[[เฮลิคอปเตอร์]]ที่ใช้ทั่วไปบน[[โลก (ดาวเคราะห์)|โลก]]สามารถบินได้สูงสุดเพียง 12,192 เมตร (40,000 ฟุต) เท่านั้น ดังนั้นเฮลิคอปเตอร์ลำนี้จึงถูกสร้างให้มีประสิทธิภาพที่สูงกว่าเฮลิคอปเตอร์บนโลก
 
ในวันที่ 5 กรกฎาคม 2021 ภายหลังจากช่วงการสาธิตการปฏิบัติการนั้นสำเร็จ ภารกิจนั้นถูกต่อไปอย่างไม่มีกำหนด.<ref name="sciencealert.com">{{Cite web|date=2021-09-06|title=Ingenuity Is So Good, NASA's Mars Helicopter Mission Just Got an Exciting Update |url=https://www.sciencealert.com/remember-nasa-s-little-mars-copter-it-s-still-going-strong/amp|access-date=2021-09-06|website=Science Alert|language=en-US}}</ref>
{{clear}}
 
==ระเบียงภาพ==