ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูกครึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
 
บรรทัด 1:
'''ลูกครึ่ง''' หมายถึงลูกที่เกิดจากพ่อแม่ที่เป็นคนต่างชาติกัน<ref>{{Cite web |url=http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2009-12-09 |archive-date=2009-03-03 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090303000030/http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp |url-status=dead }}</ref> คำว่าลูกครึ่งในประเทศไทย ไม่แน่ชัดว่าใช้ครั้งแรกเมื่อไหร่ ไม่พบใน[[กฎหมายตราสามดวง]] และคาดว่าคงเริ่มใช้หลังรัชกาลที่ 4<ref name="นิธิ">[[นิธิ เอียวศรีวงศ์]], [http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2009q4/2009november20p7.htm ลูกครึ่ง] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20091222091621/http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2009q4/2009november20p7.htm |date=2009-12-22 }} มติชนรายสัปดาห์ วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ปีที่ 29 ฉบับที่ 1527</ref> ใน[[สมัยอยุธยา]] ลูกครึ่งเกิดจากพ่อค้าฝรั่งในเมืองไทย และที่อพยพมาจากต่างประเทศ มีลูกหลานที่เป็นไพร่ในกรม เช่น กรมฝรั่งแม่นปืน เป็นต้น คนไทยสมัยนั้นไม่รู้สึกว่าลูกครึ่งแตกต่างจากไพร่ฟ้าทั่วไป จึงยังไม่เรียกคนเหล่านั้นว่าลูกครึ่ง จนเมื่อลูกครึ่งฝรั่งมีความแตกต่างขึ้นมา คือไม่ถูกเกณฑ์แรงงาน หรือไม่ใช่ไพร่เพราะมีกฎหมายฝรั่งคุ้มครองตามสิทธิสภาพนอกอาณาเขต อีกทั้งยังแต่งกายและมีวิถีชีวิตแบบฝรั่ง แต่จำนวนลูกครึ่งก็ยังมีไม่มากนัก ส่วนลูกครึ่งไทยจีนจะเรียกเป็น[[ไทยเชื้อสายจีน|ลูกชิ้น]]เสียมากกว่า<ref>{{cite news|title= Bangkok Journal; Thais With a Different Look, Flaunt Your Genes! |work= [[The New York Times]]|date=2002-08-29|url= https://www.nytimes.com/2002/08/29/world/bangkok-journal-thais-with-a-different-look-flaunt-your-genes.html|accessdate=2012-03-25|first=Seth|last=Mydans}}</ref><ref>{{cite news|title= Restaurant: Luk khrueng 混血兒泰義餐廳|work= [[Taipei Times]]|date=|url= http://www.taipeitimes.com/News/feat/archives/2006/07/21/2003319801|accessdate=2012-03-31}}</ref>
 
ในยุคใหม่ ลูกครึ่งโดยมากเกิดจากพ่อหรือแม่ชาวต่างชาติที่เข้ามาอยู่อาศัยหรือทำงานในประเทศไทย หรือเมื่อพวกเขาไปศึกษาต่อในต่างประเทศ<ref>{{cite book|title=Thailand: The Worldly Kingdom|url=https://books.google.com/?id=bAi3FcW_ALAC&pg=PA214&lpg=PA214&dq=luk+khrueng+thailand+cnn#v=onepage&q&f=false|work=Google Books|publisher=Reaktion Books|accessdate=9 July 2012|author=Maurizio Peleggi|isbn = 9781861893147|date = 2007-05-30}}</ref> มีรายงานว่าในปี พ.ศ. 2528 มีจำนวนลูกครึ่งในประเทศไทยประมาณ 7,000 คน<ref>หนังสือบางกอกโพสต์ฉบับวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2528</ref> คนรุ่นหลังนี้เป็นที่นิยมมากขึ้นในสังคม จนลูกครึ่งกลับมาเป็นที่นิยม เพราะอุตสาหกรรมบันเทิง<ref name="นิธิ"/> ที่พวกเขาสามารถพูดภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว กับหน้าตาที่มีส่วนผสมแบบตะวันตก เช่น สีผิวอ่อน/ขาว ตาใหญ่และมีสีแตกต่าง รูปร่างสูง โดยเป็นที่สนใจสำหรับสังคมไทย โดยเฉพาะในสังคมวัยรุ่นที่เป็นที่นิยม<ref>{{cite book|url=https://books.google.com/?id=LfNhnmWhPscC&pg=PA237&lpg=PA237&dq=Luk+khrueng+bangkok+post#v=onepage&q=Luk%20khrueng%20bangkok%20post&f=false |title=The sum of our parts: mixed-heritage Asian Americans - Teresa Williams-León, Cynthia L. Nakashima - Google Books |accessdate=2012-03-28|isbn=9781566398473 |year=2001 |last1=Williams-León |first1=Teresa |last2=Nakashima |first2=Cynthia L. }}</ref> ศิลปินลูกครึ่ง ที่โด่งดังอาทิเช่น [[นาตาลี เดวิส]], [[มาช่า วัฒนพานิช]], [[ทาทา ยัง]], [[คัทลียา แมคอินทอช]], [[แอน ทองประสม]], [[อารยา เอ ฮาร์เก็ต]], [[ศรีริต้า เจนเซ่น]], [[พอลล่า เทเลอร์]], [[มาริโอ้ เมาเร่อ]], [[อุรัสยา เสปอร์บันด์]], [[ณเดชน์ คูกิมิยะ]], [[อเล็กซ์ เรนเดลล์]], [[ราณี แคมเปน]] เป็นต้น