ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลิวซีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
autoCategory
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 7:
อาหารที่พบกรดอะมิโนลิวซีนในปริมาณสูงได้แก่ [[ไข่]], [[ถั่วเหลือง]], [[ปลา]], [[สาหร่าย]]<ref>http://nutritiondata.self.com/foods-000082000000000000000.html</ref> เป็นต้น ร่างกายมนุษย์ไม่สามารถสังเคราะห์ได้ แต่สำหรับพืช ลิวซีนสามารถสังเคราะห์ได้จา [[กรดไพรูวิค]] (pyruvic acid)
== ประโยชน์ ==
ลิวซีนมีประโยชน์ในการช่วยควบคุม[[ระดับน้ำตาลในเลือด]], มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการการเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายอย่างเช่น[[กระดูก]], [[ผิวหนัง]] และกล้ามเนื้อ<ref>{{Cite web |url=http://www.anyvitamins.com/leucine-info.htm |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2012-08-12 |archive-date=2012-08-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120825202759/http://www.anyvitamins.com/leucine-info.htm |url-status=dead }}</ref> นอกจากนี้ยังถูกใช้ใน[[ตับ]], [[เนื้อเยื่อไขมัน]] (adipose tissue), และเนื้อเยื่อของกล้ามเนื้ออีกด้วย ในเนื้อเยื่อไขมันและกล้ามเนื้อ ลิวซีนจะมีการเปลี่ยนรูปไปเป็นสเตอรอล (sterol)
 
== กรดอะมิโนจำเป็นชนิดอื่น ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ลิวซีน"