ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พฤติกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:4246:18FC:1:1:FF6:716E (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Pphongpan355
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
 
บรรทัด 4:
ในมนุษย์ เชื่อกันว่าพฤติกรรมส่วนใหญ่อยู่ภายใต้การควบคุมของ[[ระบบต่อมไร้ท่อ]]และ[[ระบบประสาท]] และเป็นที่เชื่อกันทั่วไปว่า ความซับซ้อนในพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตสัมพันธ์กับความซับซ้อนของระบบประสาท ทั่วไปแล้ว สิ่งมีชีวิตที่มีระบบประสาทซับซ้อนกว่ามีความสามารถสูงกว่าในการเรียนรู้การตอบสนองใหม่ ๆ และดังนั้น จึงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
 
พฤติกรรมมีทั้งที่มีมาแต่กำเนิดหรือเกิดจากการเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม การวิจัยปัจจุบันในโครงการจุลินทรีย์มนุษย์ (Human Microbiome Project) ชี้ความเป็นไปได้ที่ว่า พฤติกรรมมนุษย์อาจถูกควบคุมโดยองค์ประกอบของประชากรจุลินทรีย์ภายในร่างกายมนุษย์<ref>[http://www.sciencedirect.com/science?_ob=ArticleURL&_udi=B6WC1-4WD1BY7-1&_user=2030552&_coverDate=01%2F31%2F2010&_rdoc=1&_fmt=high&_orig=search&_sort=d&_docanchor=&view=c&_searchStrId=1356219447&_rerunOrigin=google&_acct=C000055860&_version=1&_urlVersion=0&_userid=2030552&md5=aa2deffba3b102da34fd76fb46e71731 Mood and gut feelings at ScienceDirect]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
 
พฤติกรรมสามารถถือได้ว่าเป็นการแสดงออกของสิ่งมีชีวิตซึ่งเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัว พฤติกรรมนำสัญญาณออกจากสิ่งมีชีวิตสู่สิ่งแวดล้อม<ref>Dusenbery, David B. (2009). ''Living at Micro Scale'', p. 124. Harvard University Press, Cambridge, Mass. ISBN 978-0-674-03116-6.</ref>