ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคพลังใหม่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 17:
ในการเลือกตั้งครั้งนั้นมีพรรคการเมืองส่งผู้สมัครถึง 42 พรรค แต่ได้รับเลือกตั้งเพียง 22 พรรค ซึ่งได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกระจายกันออกไป หลังการเลือกตั้ง [[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้ ส.ส. มาทั้งหมด 72 คน เป็นพรรคที่มีคะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่ง สามารถรวบรวมพรรคต่าง ๆ ร่วมกันจัดตั้งรัฐบาลได้ และได้เป็น[[นายกรัฐมนตรี]]
 
ต่อมาใน[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518|การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในปีเดียวกัน]] ซึ่งเป็น[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]เป็นครั้งแรกด้วย พรรคพลังใหม่ก็ได้ส่งผู้สมัครลงสมัคร คือ ดร.[[อาทิตย์ อุไรรัตน์]] แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง<ref>[{{Cite web |url=http://www.democrat.or.th/th/about/board-of-directors/party_executive_committee/Advisory_Board_Committee/detail.php?ID=726 |title=ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์] |access-date=2013-04-04 |archive-date=2013-12-31 |archive-url=https://web.archive.org/web/20131231190908/http://www.democrat.or.th/th/about/board-of-directors/party_executive_committee/Advisory_Board_Committee/detail.php?ID=726 |url-status=dead }}</ref> เพราะพ่ายแพ้ต่อ นาย[[ธรรมนูญ เทียนเงิน]] ผู้สมัครจาก[[พรรคประชาธิปัตย์]]ไปราว 7,000 คะแนนเท่านั้น<ref name="คม"/> กระทั่งเกิดการรัฐประหารเมื่อวันพุธที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 โดย [[คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน]] ทำให้พรรคพลังใหม่ในยุคแรกต้องยุติบทบาทลง
 
ใน พ.ศ. 2525 ได้มีการจดทะเบียนพรรคพลังใหม่ขึ้นมาอีกครั้งโดยใช้ตราสัญลักษณ์เมื่อคราวจดทะเบียนปี พ.ศ. 2517 เป็นตราประจำพรรคมี ร้อยตรี สมหวัง ศรีชัย เป็นหัวหน้าพรรคคนแรกและนาย [[สุเทพ วงศ์กำแหง]] เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก <ref> http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2525/A/154/1.PDF </ref>