ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาการ์ร่า รูฟา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 50:
ดังนั้น เมื่อมีผู้ที่ลงไปแช่น้ำในบ่อน้ำร้อนเหล่านี้ ปลาการ์ร่า รูฟาจึงมาแทะเล็ม[[ผิวหนัง]]ชั้นนอกของผู้ที่ลงแช่เป็นอาหารแทน ก่อให้เกิดความรู้สึกสบาย อันเป็นที่มาของการทำสปาประเภท [[ฟิชสปา]] หรือ มัจฉาบำบัด
 
มีการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ โดยสถาบันทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยเวียนนา พบว่า การให้ปลาการ์ร่า รูฟา แทะเล็มผิวหนังช่วยบำบัด[[โรคผิวหนัง]]บางชนิดได้ที่ไม่มียารักษา โดยพบว่าเมื่อปลากัดกินผิวหนัง ที่เป็นเกล็ด หรือขุย อันเนื่องมาจากอาการของโรค ของผู้ป่วยออกไป เป็นการเปิดโอกาสให้ผิวหนังได้สัมผัสกับ[[รังสียูวี]] ในระดับที่ลึกลงไป ทำให้ผิวหนังมีพัฒนาการเติบโตได้ดีขึ้น<ref name=doctor>“Doctor fish”. In New Scientist magazine: The word 14 July 2007. Page 52.</ref> <ref>“"DOKTOR FISH" AND PSORIASIS”. Accessed from: http://www.cumhuriyet.edu.tr/sivas/doctorfish/tez2e.html {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20130123145433/http://www.cumhuriyet.edu.tr/sivas/doctorfish/tez2e.html |date=2013-01-23 }}</ref>
 
ปัจจุบัน ปลาการ์ร่า รูฟา นิยมนำเข้ามาสู่ประเทศต่าง ๆ เพื่อใช้ในธุรกิจประเภทฟิชสปา <ref name=manager>[http://www.manager.co.th/MetroLife/ViewNews.aspx?NewsID=9520000076370&#Comment “ตอด” นี้เพื่อสุขภาพ ที่ “Café D' Spa “ จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref>