ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นางสุพรรณมัจฉา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 4 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 20:
นางปรากฏตัวครั้งแรกเมื่อครั้งที่พระรามให้หนุมานถมมหาสมุทรข้ามไปยังกรุงลงกา ทศกัณฑ์จึงให้นางสุพรรณมัจฉาและบริวารที่เป็นปลาลอบขนหินถมทะเลดังกล่าวไปทิ้ง หนุมานสงสัยจึงดำลงไปใต้ท้องทะเลจึงพบนางสุพรรณมัจฉา ภายหลังทั้งสองได้ร่วมรักกันและมีบุตรคือ ''[[มัจฉานุ]]'' ที่ตัวเป็นลิงมีหางเป็นปลา
 
เช่นเดียวกับ[[นางสีดา]] ที่มีบิดาเป็น[[ยักษ์]] แต่ก็มีรูปโฉมที่สวยงาม แม้นางสุพรรณมัจฉาจะเป็นตัวละครที่มีบทบาทไม่มากนัก แต่ก็เป็นที่กล่าวขานถึงรูปลักษณ์ที่งดงามที่ปรากฏตามจิตรกรรมฝาผนัง จนเป็นหนึ่งในนางในวรรณคดีที่มีชื่อเสียงนางหนึ่ง<ref name= "สนุก">{{cite web |url=http://hilight.kapook.com/view/84335|title=ประวัตินางในวรรณคดี หญิงงามในบทประพันธ์|author=|date=5 เมษายน 2556|work= |publisher=สนุกดอตคอม|accessdate=26 พฤษภาคม 2557}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.roommag.com/detail.aspx?articleId=213&magno=65|title=โรงละครอักษรา|author=|date=|work= |publisher=Room|accessdate=26 พฤษภาคม 2557}}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ทั้งนี้นางสุพรรณมัจฉาปรากฏอยู่ใน[[รามายณะ]]ของภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้|อุษาคเนย์]]บางประเทศเท่านั้น<ref name="Satyavrat2006">{{cite book | author=Satyavrat Sastri | title=Discovery of Sanskrit Treasures: Epics and Puranas | url=http://books.google.com/books?id=seljAAAAMAAJ | accessdate=2012-07-24 | year=2006 | publisher=Yash Publications | isbn=978-81-89537-04-3 | page = 77}}</ref>
 
== ประวัติ ==
นางสุพรรณมัจฉา เป็นธิดาของ[[ทศกัณฑ์]] กับนางปลา<ref name= "สำมนักขา">{{cite web |url=http://www.siamnt.net/ramakien_literature/html/character5.php|title=นางสำมนักขา, สุพรรณมัจฉา, นางเบญกาย, นางมณโฑ, สดายุ|author=|date=|work= |publisher=SiamNT ฝีมือไทย ภูมิปัญญาไทย|accessdate=26 พฤษภาคม 2557}}</ref><ref name= "ชานันท์">{{cite web|url=http://www.seaconsortium.net/autopagev4/show_page.php?topic_id=423&auto_id=5&TopicPk=181|title=รามเกียรติ์ : sex, ผู้หญิง, รัฐ และ อุษาคเนย์|author=ชานันท์ ยอดหงษ์|date=|work=|publisher=The Southeast Asian Consortium on Gender, Sexual and Health|accessdate=26 พฤษภาคม 2557|archive-date=2016-03-04|archive-url=https://web.archive.org/web/20160304171246/http://seaconsortium.net/autopagev4/show_page.php?auto_id=5&topic_id=423&topicpk=181|url-status=dead}}</ref><ref name= "สุพรรณมัจฉา">{{cite web |url=http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=42259|title=สุพรรณมัจฉา (รามเกียรติ์)|author=|date=|work= |publisher=My First Brain|accessdate=26 พฤษภาคม 2557}}</ref> ซึ่งเป็นสัตว์เดียรัจฉานแต่ทศกัณฑ์ได้แปลงกายเป็นปลาลงไปสมสู่จนกำเนิดธิดาขึ้นมา<ref name= "ทศกัณฑ์">{{cite web |url=http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=42578|title=ทศกัณฑ์ (รามเกียรติ์)|author=|date=|work= |publisher=My First Brain|accessdate=26 พฤษภาคม 2557|archive-date=2014-10-06|archive-url=https://web.archive.org/web/20141006112805/http://myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=42578|url-status=dead}}</ref> แม้ทศกัณฑ์จะเป็น[[ยักษ์]] แต่ในวรรณคดีอนุโลมให้ทศกัณฑ์เป็นมนุษย์<ref name= "พันธุศาสตร์">{{cite web |url=http://www.geneticsociety.or.th/content-ลักษณะประหลาดที่น่าสนใจทางพันธุศาสตร์ของตัวละครในวรรณคดีไทย-4-23326-306035-1.html|title=ลักษณะประหลาดที่น่าสนใจทางพันธุศาสตร์ของตัวละครในวรรณคดีไทย|author=ดร. ณรงค์ โฉมเฉลา|date=26 กุมภาพันธ์ 2557|work= |publisher=สมาคมพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย|accessdate=26 พฤษภาคม 2557}}</ref> ด้วยเหตุนี้ในงานจิตรกรรมฝาผนังเธอจึงมีรูปลักษณ์ที่ท่อนบนเป็นมนุษย์ส่วนท่อนล่างเป็นปลา<ref name= "สำมนักขา"/> คือกลายเป็น [[นางเงือก]]<ref name= "พันธุศาสตร์"/> กระนั้นนางสุพรรณมัจฉาก็มีรูปโฉมที่งดงาม มีผิวกายผ่องพรรณเป็นสีทอง ดังปรากฏความว่า<ref name= "สุพรรณมัจฉา"/>
 
{{บทกวี|indent=1
บรรทัด 48:
|ลืมอายลืมองค์กัลยา|เสน่หาเพิ่มพ้นพันทวี}}
 
หลังสิ้นการสังวาส นางสุพรรณมัจฉาก็เลิกก่อกวนการสร้างถนน แต่ก็ทำสำเร็จเปราะหนึ่งเพราะหนุมานก็ต้องเสียเวลามาร่วมเพศกับนางระยะหนึ่ง<ref name= "ชานันท์"/> ต่อมานางสุพรรณมัจฉาได้ตั้งครรภ์และให้กำเนิดบุตรชื่อ ''[[มัจฉานุ]]''<ref name= "พันธุศาสตร์"/><ref>{{cite web |url=http://ramayana.onlinewebshop.net/supanmatcha.html|title=สุพรรณมัจฉา|author=|date=|work= |publisher=รามเกียรติ์|accessdate=26 พฤษภาคม 2557|archive-date=2016-06-10|archive-url=https://web.archive.org/web/20160610023615/http://ramayana.onlinewebshop.net/supanmatcha.html|url-status=dead}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/17721-00/|title=ตัวละครหลักในเรื่องรามเกียรติ์|author=|date=|work= |publisher=True ปลูกปัญญา|accessdate=26 พฤษภาคม 2557|archive-date=2015-09-03|archive-url=https://web.archive.org/web/20150903000858/http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/17721-00|url-status=dead}}</ref> ที่เป็นลิงแต่มีหางเป็นปลา นางสุพรรณมัจฉาเกรงว่าทศกัณฑ์ผู้บิดาจะล่วงรู้ว่านางได้เสียกับหนุมานแล้ว จึงนำบุตรมาทิ้งไว้ที่ชายหาด ที่ต่อมา[[ไมยราพณ์]]ได้นำไปเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม<ref name= "สุพรรณมัจฉา"/>
 
== ทางศาสนา ==
ในอดีตเมื่อถึงช่วงเวลาทอดกฐินจะมีการประดับธง คือ "ธงจระเข้" คู่กับ "ธงนางมัจฉา" เมื่อทอดกฐินเสร็จแล้วก็จะต้องเอาธงนี้ไปปักหน้าวัด เพื่อให้ผู้ที่ผ่านไปมารู้ว่าวัดนี้ได้ทอดกฐินแล้ว ผู้คนก็จะยกมือขึ้นอนุโมทนาในการกุศลกฐินด้วย ด้วยเหตุนี้ธงจระเข้และนางมัจฉาจึงเป็นเครื่องหมายการกฐินที่จำเป็นสมัยก่อน เพราะเวลาแห่สามารถจะรู้ได้ว่าเป็นแห่กฐิน ผิดกว่างานบุญอื่น ๆ<ref>{{cite web |url=http://www.watpachoenglane.com/content/ธง“รูปจระเข้”-และ-”รูปนางมัจฉา-เกี่ยวข้องกับกฐินอย่างไร|title=ธง“รูปจระเข้” และ ”รูปนางมัจฉา เกี่ยวข้องกับกฐินอย่างไร|author= ท.เลียงพิบูลย์|date=|work= |publisher=วัดป่าเชิงเลน|accessdate=8 มิถุนายน 2557|archive-date=2018-09-01|archive-url=https://web.archive.org/web/20180901070925/http://www.watpachoenglane.com/content/%E0%B8%98%E0%B8%87%E2%80%9C%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E2%80%9D-%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0-%E2%80%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%89%E0%B8%B2-%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%90%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3|url-status=dead}}</ref>
 
==ในวัฒนธรรมร่วมสมัย==