ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบิลพัสดุ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{Location map+
{{แยก|กบิลพัสดุ์ (นครโบราณ)}}
|Nepal
{{Infobox settlement
|float = center
|latd = 27.576455
|latNSwidth = N250
|caption = สถานที่ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นกบิลพัสดุ์ใน[[ประเทศเนปาล]] ได้แก่ [[Tilaurakot|ติลาวรโกฏ]] และ [[Piprahwa|ปิปรหวะ]] ริมพรมแดนประเทศอินเดีย
|longd = 83.054978
|longEWnodiv = E1
|mini = 1
|name = เตาลิหะวา
|relief=yes
|other_name =
|places =
|native_name = तौलिहवा
{{location map~ |Nepal |lat=27.58 |N |long=83.08|E |label=[[Tilaurakot|ติลาวรโกฏ]]|position=top |label_size=80}}
|settlement_type = เทศบาล
{{location map~ |Nepal |lat=27.443 |N |long=83.1278|E |label=[[Piprahwa|ปิปรหวะ]] |position=bottom |label_size=80}}
|image = Kapilavastu gate.JPG
|pushpin_map = Nepal
|pushpin_label_position =
|demographics_type1 = ภาษา
|demographics1_title1 = ราชการ
|demographics1_info1 = [[ฮินดี]]
|subdivision_type = ประเทศ
|subdivision_name = {{ธง|เนปาล}} [[ประเทศเนปาล]]
|subdivision_type1 =
|subdivision_name1 =
|website =
{{URL|http://kapilvastumun.gov.np/}}
|footnotes =
|timezone = [[Nepal Standard Time|NST]]
|utc_offset = +5:45
}}
}}
{{สถานที่สำคัญแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิ}}
'''กบิลพัสดุ์''' หรือ '''กบิลวัสตุ''' เป็นนครโบราณใน[[อนุทวีปอินเดีย]] ราชธานีของชนเผ่าแคว้น[[ศากยะ]]
 
เชื่อว่า[[พระเจ้าสุทโธทนะ]]และ[[พระนางสิริมหามายา]]เคยอาศัยอยู่ในกบิลพัสดุ์ รวมทั้ง[[พระโคตมพุทธเจ้า]]จนกระทั่งพระองค์เสด็จออกบวชเมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา<ref name=EoB2010>{{cite book|last=Trainor|first=K|editor-last=Keown|editor-first=D|editor2-last=Prebish|editor2-first=CS|title=Encyclopedia of Buddhism|chapter=Kapilavastu|pages=436–7|publisher=Routledge|location=Milton Park, UK|year=2010|isbn=978-0-415-55624-8|url=https://books.google.com/books?id=NFpcAgAAQBAJ&q=kapil}}</ref>
[[ไฟล์:kapilavastu-easterngate.jpg|240px|thumb|right|ซากกรุงกบิลพัสด์[[ประเทศเนปาล]]]]
'''กบิลพัสดุ์''' ({{lang-pi|Kapilavatthu}} ''กปิลวัตถุ''; {{lang-sa|Kapilavastu}} ''กปิลวัสตุ''; {{lang-en|Kapilavastu}}) เป็นชื่อเมืองหลวงของแคว้น[[สักกะ]] เป็นเมืองของ[[พระเจ้าสุทโธทนะ]]ผู้เป็นพระบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็น[[พระโคตมพุทธเจ้า]] เป็นเมืองที่พระพุทธเจ้าทรงเจริญพระชนม์และประทับอยู่จนกระทั่งพระชนมายุ 29 พรรษา ปัจจุบันอยู่ในเขต[[ประเทศเนปาล]] ติดชายแดนตอนเหนือ[[ประเทศอินเดีย]] ยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐาน และไม่ห่างจากเมืองนี้มี[[สังเวชนียสถาน]]ที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่า[[ลุมพินีวัน]]ปรากฏอยู่ บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของ[[ประเทศไทย]]และของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัด เป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญกัน
 
คัมภีร์ของพุทธเช่น[[พระบาลีปิฎก]]ระบุว่ากบิลพัสดุ์เป็นที่อยู่วัยเยาว์ของพระโคตมพุทธเจ้า เนื่องจากเป็นราชธานีของ[[ศากยะ]] ซึ่งพระเจ้าสุทโธทนะ พระบิดาเป็นเจ้าผู้ครองแคว้นนั้น<ref name="EoB2010" /> พระโคตมพุทธเจ้าทรงอาศัยที่นี่จนถึงพระชนมายุ 29 พรรษา of ข้อมูลบางแหล่งอ้างว่าชื่อของกบิลพัสดุ์ตั้งตามฤาษีพราหมณ์ [[Kapila|กปีละ]]<ref>Kapila, VEDIC SAGE, Encyclopedia Britannica . Link: https://www.britannica.com/biography/Kapila</ref><ref>UP’s Piprahwa is Buddha’s Kapilvastu? ,Shailvee Sharda May 4, 2015, Times of India</ref>
''กบิลพัสดุ์'' แปลตามศัพท์ว่า "ที่อยู่ของกบิลดาบส"เพราะบริเวณที่ตั้งเมืองนี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของ[[ดาบส]]ชื่อ ''กบิล'' พวกเจ้า[[ศากยะ]]ได้มาจับจองตั้งเป็นเมืองขึ้นและตั้งชื่อเมืองใหม่นี้ว่ากบิลพัสดุ์ เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่[[กบิลดาบส]]
 
{{สถานที่สำคัญในพุทธภูมิ}}
 
== เมืองกบิลพัสดุ์ในปัจจุบัน ==
ในปี พ.ศ. 2442 นักโบราณคดีได้แกะรอยแนวที่ตั้งของเสา[[พระเจ้าอโศกมหาราช]] และตำนานการสร้างเมืองมาจนพบกับเมืองโบราณร้างชื่อ "ติเลาราโกต" อยู่ในตำแหน่งที่ตรงกับกรุงกบิลพัสดุ์ตามที่ระบุในเอกสารหลายฉบับ "อยู่ทางใต้ของเชิงเขาหิมาลัย 16 กิโลเมตร สวนลุมพินีวันห่างออกไป 35 กิโลเมตร ทางตะวันออก ทางตะวันตกมีลำน้ำสาขาของแม่น้ำคงคาไหลผ่าน"
 
หลักฐานจากการขุดค้นทางโบราณคดียืนยันว่ามีความเป็นเมืองโบราณตั้งแต่ก่อนพุทธกาลประมาณ 100 ปี และได้ความเจริญต่อเนื่องมาจนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 7 ก่อนที่จะถูกทิ้งร้างไป
 
ปัจจุบันเมืองโบราณติเลาราโกตแห่งนี้รวมทั้งลุมพินีวันได้รับการประกาศจากยูเนสโกให้นับเป็น[[มรดกโลก]]ที่อยู่ในประเทศเนปาล
 
<gallery>
ไฟล์:kapilavastu.jpg|ซากอาคารพระราชวังกรุงกบิลพัสดุ์
ไฟล์:Kapilavastu-easterngate.jpg|ซากประตูเมืองฝั่งตะวันออก
ไฟล์:Kapilavastu-westerngate.jpg|ซากประตูเมืองทิศตะวันตก
</gallery>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* ลักษณา จีระจันทร์, ''ตามรอยพระพุทธเจ้า'', แพรวสำนักพิมพ์, กรุงเทพฯ พ.ศ. 2549
{{จบอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[แคว้นสักกะ]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.pharm.chula.ac.th/computer/web_india_1/idia1_14_kabil2/14_kabil2.htm ข้อมูลพุทธสถานในดินแดนพุทธภูมิ].
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Kapilavastu|กบิลพัสดุ์}}
{{Coor box|27.576455|N|83.054978|E|}}
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://www.wikimapia.org/#y=27.576455&x=83.054978&z=17&l=0&m=h&v=2}}
 
{{แคว้นพุทธกาล}}
{{แคว้นสักกะ}}
 
[[หมวดหมู่:เมืองในประเทศเนปาล]]
[[หมวดหมู่:เมืองสำคัญทางศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:สถานที่แสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิ]]