ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาร์กาเรตแห่งแอนติออก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ข้ามภาษา เพราะว่าไม่มีบทความในวิกิอังกฤษ
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 15:
| ที่ประกาศ =
| ประกาศโดย =
| วันสมโภช = 20 กรกฏาคมกรกฎาคม (ตะวันตก) 17 กรกฏาคมกรกฎาคม (ตะวันออก)
| สัญลักษณ์ =มังกรถูกฆ่า
| ผู้พิทักษ์ =การคลอดลูก, ผู้หญิงมีครรภ์, คนที่ใกล้ตาย, โรคไต, ชาวนา, ผู้ลี้ภัย, ผู้ถูกกล่าวหาผิดๆ, พยาบาล
บรรทัด 25:
ตาม[[ตำนานทอง]]นักบุญมาร์การเร็ตเป็นชาว[[อันติโอก]] เป็นลูกสาวของพระนอกศาสนาชื่อเอเดเซียส และอาศัยอยู่กับแม่เลึ้ยงโดยเลึ้ยงแกะ พ่อเยาะเย้ยในความเชื่อใน[[คริสต์ศาสนา]]ของนักบุญมาร์การเร็ต โอลิเบรียสขอแต่งงานกับมาร์การเร็ตแต่มีข้อแม้ว่ามาร์การเร็ตต้องเลิกนับถือคริสต์ศาสนาแต่มาร์การเร็ตไม่ยอม จึงถูกทรมานระหว่างการทรมานก็เกิดปาฏิหาริย์ขึ้นหลายอย่างเช่นเรื่องหนึ่งกล่าวว่านักบุญมาร์การเร็ตถูก[[ซาตาน]]ในรูปของ[[มังกร]]กลืนแต่ก็หนีมาได้ เพราะกางเขนที่ถือไว้ในมือระคายท้องมังกร ในที่สุดก็ถูกสังหารเมื่อราว ค.ศ. 304 แม้แต่ตำนานทองก็ยังแสดงความไม่น่าเชื่อถือในเรื่องที่กล่าวโดยบรรยายเหตุการณ์สุดท้ายว่าให้ผู้อ่านฟังหูไว้หู(trans. Ryan, 1.369)
 
ทาง[[นิกายออร์โธด็อกซ์]]รู้จักมาร์การเร็ตในชื่อ มารินา และฉลองวันสมโภชวันที่ 17 กรกฏาคมกรกฎาคม และอาจจะเป็นคนคนเดียวกับนักบุญเพลาเกีย เพราะชื่อ “มารินา” ในภาษากรีกเป็นชื่อเดียวกับ “เพลาเกีย” – และเพลาเกียกล่าวตามตำนานว่าชื่อ มาร์การิโต แต่ไม่มีหลักฐานอะไรที่สามารถบอกความสัมพันธ์ของนักบุญสององค์นี้ มารินาของกรีกมาจากอันติโอก แต่เมื่อความตอนนี้หายไปจากทางตะวันตก
 
[[Imageภาพ:Saint Margaret sculpture.jpg|thumb|left|“นักบุญมาร์การเร็ตและมังกร” หินอาลาบาสเตอร์มีรอยปิดทองจากทูลูส จากราว ค.ศ. 1475 ปัจจุบันอยู่ตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน, [[นครนิวยอร์ก]], [[สหรัฐอเมริกา]]]]
[[ลัทธินิยม]]นักบุญมาร์การเร็ตมีความนิยมกันมากใน[[อังกฤษ]]โดยจะเห็นได้จากวัดถึง 250 วัดตั้งตามชื่อมาร์การเร็ต ผู้ที่เลื่อมใสเชื่อกันว่าเป็นนักบุญผู้พิทักษ์ผู้หญิงมีครรภ์ ในศิลปะภาพของนักบุญมาร์การเร็ตมักจะเป็นผู้หญิงหนีมังกร
 
นักบุญมาร์การเร็ตเป็นนักบุญของ[[นิกายโรมันคาทอลิก]]และมีชื่อในรายการ “[[มรณสักขีของคริสเตียน|มรณสักขี]]ของโรมัน” สำหรับวันที่ 20 กรกฏาคมกรกฎาคม<ref>''Martyrologium Romanum'' (Libreria Editrice Vaticana, 2001 ISBN 88-209-7210-7)</ref> และเป็นนักบุญองค์หนึ่งที่มาปรากฏตัวต่อ [[นักบุญโจนออฟอาร์ค]]
 
== อ้างอิง ==