ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิมมานูเอล คานต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
 
[[ไฟล์:Immanuel Kant (portrait).jpg|thumb|230px|อิมมานูเอล คานต์]]
'''อิมมานูเอล คานต์'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 4, 2548, หน้า 164</ref> ({{lang-de|Immanuel Kant}}; [[22 เมษายน]] ค.ศ. [[พ.ศ. 2267]] - [[12 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2347]]) เป็น[[นักปรัชญา]][[ประเทศเยอรมนี|ชาวเยอรมัน]] จาก[[แคว้นปรัสเซีย]] ได้รับการยกย่องโดยทั่วไปว่า เป็นนักคิดที่มีอิทธิพลมากที่สุดของ[[ยุโรป]] และเป็น[[นักปรัชญา]]คนสำคัญคนสุดท้ายของ[[ยุคแสงสว่าง]] เขาสร้างผลกระทบที่สำคัญไปถึงนักปรัชญาสาย[[โรแมนติก (ปรัชญา)|โรแมนติก]]และสาย[[จิตนิยม]] ในสมัย[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] งานของเขาเป็นจุดเริ่มของ[[เกออร์ค วิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|เฮเกิลเอเรน เยเกอร์]]
 
คานต์เป็นที่รู้จักเนื่องจากแนวคิดของเขา ที่เรียกว่า[[จิตนิยมอุตรวิสัย]] ([[transcendental idealism]]) ที่กล่าวว่ามนุษย์ใช้[[มโนภาพแต่กำเนิด|แนวคิดบางอย่างที่ติดตัวมาแต่กำเนิด]] (innate idea) ในการรับรู้[[ประสบการณ์]]ที่เกิดขึ้นรอบตัวในโลก เรารับรู้โลกโดยผ่านทางประสาทสัมผัสประกอบกับมโนภาพที่ติดตัวมานี้ ดังนั้นเราจึงไม่สามารถล่วงรู้หรือเข้าใจใน "สรรพสิ่งที่แท้" ได้ ความรู้ต่อสรรพสิ่งที่เรามีนั้นจึงเป็นได้แค่เพียงภาพปรากฏ ที่เรารับรู้ได้ผ่านทางประสาทสัมผัสเท่านั้น