6,062
การแก้ไข
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม) ไม่มีความย่อการแก้ไข |
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม) ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
'''วิธีกงดอร์แซ''' (
ในการเลือกตั้งบางกรณีไม่อาจหาผู้ชนะแบบกงดอร์แซได้เนื่องจากผลการลงคะแนนนั้นอาจจะเป็นวัฏจักร (cyclic) กล่าวคือมีความเป็นไปได้ (แต่พบได้ยาก) ว่าผู้สมัครทุกคนจะมีคู่แข่งที่แพ้ในการแข่งขันเป็นคู่ๆ เสมอกัน<ref>{{cite journal |jstor=30022874?seq=1 |quote=Condorcet's paradox [6] of simple majority voting occurs in a voting situation [...] if for every alternative there is a second alternative which more voters prefer to the first alternative than conversely.|last1=Gehrlein|first1=William V.|last2=Fishburn|first2=Peter C.|title=Condorcet's Paradox and Anonymous Preference Profiles|journal=Public Choice|year=1976|volume=26|pages=1–18|doi=10.1007/BF01725789|s2cid=153482816}}</ref> (คล้ายกับการ[[เป่ายิ้งฉุบ]]ที่การเสี่ยงมือแบบหนึ่งจะชนะแบบหนึ่งและแพ้อีกแบบหนึ่งได้) ความเป็นไปได้ของการเกิดวัฏจักรนั้นเรียกว่า [[ปฏิทรรศน์กงดอร์แซ]] (
ระบบการลงคะแนนแบบกงดอร์แซนั้นตั้งชื่อตามนักคณิตศาสตร์และนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส [[มาร์กี เดอ กงดอร์แซ|มารี ฌ็อง อ็องตวน นิกอลา การีตา มาร์กี เดอ กงดอร์แซ]] ซึ่งเป็นผู้คิดค้นระบบนี้ขึ้นในศตวรรษที่ 18 อย่างไรก็ตามระบบคล้ายกันกับกงดอร์แซได้ถูกใช้ครั้งแรกในปีค.ศ. 1299<ref>{{cite journal|author=G. Hägele and F. Pukelsheim|year=2001|title=Llull's writings on electoral systems|url=http://www.math.uni-augsburg.de/stochastik/pukelsheim/2001a.html|journal=Studia Lulliana|volume=41|pages=3–38|archiveurl=https://web.archive.org/web/20060207154726/http://www.math.uni-augsburg.de/stochastik/pukelsheim/2001a.html|archivedate=2006-02-07}}</ref> โดย[[Ramon Llull|รามอน ยุล]] นักปรัชญาชาวมายอร์กา โดยเป็นวิธีเดียวกันกับ[[วิธีของโคปแลนด์]]ในแบบที่ไม่มีคะแนนเสมอเป็นคู่<ref>
|
การแก้ไข