ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:การก่อกวน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ปรับปรุง แปลจาก :en:Wikipedia:Vandalism
บรรทัด 58:
 
== ตรวจสอบการก่อกวน ==
การตรวจสอบการก่อกวนนั้น วิธีที่ง่ายที่สุดคือตรวจสอบผ่านหน้า [[Special:Recentchanges|การปรับปรุงล่าสุด]] และจับตาดูในหน้า [[Special:Watchlist|รายการเฝ้าดู]] สำหรับหน้าที่สนใจในแต่ละหน้า สามารถเลือกดู "การปรับปรุงที่โยงมา" ได้ นอกจากนี้ยังอาจตรวจสอบจากหน้า [[:ภาพ:Example.jpg#filelinks|ภาพ:Example.jpg]], [[พิเศษ:บทความที่โยงมา/สื่อ:Example.ogg|สื่อ:Example.ogg]], [[พิเศษ:บทความที่โยงมา/ชื่อลิงก์|ชื่อลิงก์]], [[พิเศษ:บทความที่โยงมา/ข้อความหัวเรื่อง|ข้อความหัวเรื่อง]], [[พิเศษ:บทความที่โยงมา/Insert text|Insert text]], [[พิเศษ:บทความที่โยงมา/ใส่ชื่อหน้า|ใส่ชื่อหน้า]], [[พิเศษ:บทความที่โยงมา/ตัวหนา|ตัวหนา]], [[พิเศษ:บทความที่โยงมา/ไฟล์:ข้อความหัวเรื่อง|ไฟล์:ข้อความหัวเรื่อง]]
 
* ตรวจดูหน้าเปลี่ยนแปลงล่าสุด โดยใช้ลิงก์[[special:recentchange|เปลี่ยนแปลงล่าสุด]]เพื่อตรวจหาการแก้ไขที่น่าสงสัย
== การดำเนินการกับผู้ก่อกวน ==
* ตรวจ[[พิเศษ:รายการเฝ้าดู|รายการเฝ้าดู]]ของคุณ
เมื่อเจอกับการก่อกวนให้ทำการย้อนข้อมูลกลับไปยังรุ่นก่อนหน้า และเตือนในหน้าพูดคุยของผู้ก่อกวน โดยทำการตรวจสอบประวัติของผู้ก่อกวนว่าได้เขียนก่อกวนในหน้าไหนไว้บ้าง ซึ่งบางครั้งผู้ก่อกวนอาจจะก่อกวนมากกว่าหนึ่งบทความ และเพื่อแน่ใจว่าได้ทำการย้อนการก่อกวนทั้งหมด
* อาจตรวจสอบประวัติการแก้ไขของหน้าเพื่อย้อนดูการแก้ไขผิดปกติที่ผ่าน ๆ มา และเปรียบเทียบกับรุ่นก่อนหน้าที่จะมีการทำกลับ หรือกลุ่มการแก้ไขที่ไม่มีพิรุธ วิธีนี้สามารถตรวจสอบการแก้ไขที่ผิดปกติหลายครั้งได้ในคราวเดียว ขนาดของบทความ ซึ่งมีหน่วยเป็นไบต์ มักจะมีขนาดเพิ่มขึ้นทีละน้อยเมื่อเวลาผ่านไป การที่บทความมีขนาดลดลงไปมากอย่างฉับพลันอาจบ่งชี้ถึงการก่อกวน
 
จากวิธีการข้างต้น อาจพบตัวอย่างของการแก้ไขที่ผิดปกติเช่น การแก้ไขจากไอพี, การทำ[[วิกิพีเดีย:ลิงก์แดง]], หรือจากผู้ใช้ลงทะเบียนที่ใช้ชื่อประหลาด ๆ การคลิกดูทุกการแก้ไขในรายการเฝ้าดู, ประวัติหน้า ฯลฯ โดยให้ความสงสัยว่าการแก้ไขนั้นเป็นการก่อกวนมีน้อยที่สุด ถือเป็นการเริ่มต้นที่ดี ประสบการณ์ที่เพิ่มขึ้นจะทำให้ผู้ใช้สามารถทราบว่าความย่อการแก้ไขแบบใดควรค่าที่จะทำการตรวจสอบต่อไป และแบบใดที่อาจละเลยได้ ความย่อการแก้ไขเช่น "เพิ่มข้อมูล" หรือ "แก้ไข" เนื่องจากเป็นความย่อที่มักจะนึกได้อันดับต้น ๆ พึงระลึกว่าไม่ควรเข้าหาผู้ใช้ไอพีโดยที่ที่ตั้งสมมติฐานไปก่อนว่ามีจุดประสงค์เพื่อก่อกวน แม้ว่าผู้ก่อกวนบางรายจะทำการก่อกวนโดยไม่ได้ลงทะเบียนผู้ใช้ กระนั้นผู้ใช้ไอพีบางรายก็มีส่วนร่วมอันเป็นประโยชน์ต่อวิกิพีเดีย โปรดตรวจดูการเปลี่ยนแปลงของหน้า จากนั้นจึงทำการพิจารณา แทนที่จะดูว่าใครเป็นผู้แก้ไข หรือจากความย่อการแก้ไข
ผู้ก่อกวนที่แกล้งใส่ข้อความขำขันโดยทั่วไปมักจะเลิกก่อกวนไปเองภายหลังจากที่ได้รับการแจ้งเตือน แต่ถ้าผู้ก่อกวนยังคงก่อกวนต่อเนื่อง ให้ใส่รายชื่อหรือหมายเลขไอพีไว้ที่ [[วิกิพีเดีย:รายชื่อการก่อกวน|รายชื่อการก่อกวน]] เพื่อให้ผู้ดูแลระบบจัดการบล็อกผู้ใช้นั้น
 
* ดู[[วิธีใช้:หน้าที่ลิงก์มา]]
*[[วิธีใช้:ความย่อการแก้ไขอัตโนมัติ]]ก็อาจช่วยผู้ใช้ตรวจสอบการก่อกวนได้
*ตรวจปูมตัวกรองการละเมิดกฎ
*เฝ้าดูการแก้ไขที่ตัวกรองการละเมิดกฎทำป้ายระบุไว้ อย่างไรก็ดี การแก้ไขจำนวนมากที่มีป้ายระบุก็ใช่ว่าเป็นการก่อกวน ฉะนั้นจึงไม่ควรทำการย้อนโดยที่ยังไม่ได้อ่านการแก้ไข
*การแก้ไขที่ดูเหมือนน่าเชื่อถือ หรือการแก้ไขเล็กน้อย ที่ไม่มีแหล่งอ้างอิงหรือเอกสารมารองรับ โดยเฉพาะที่ไม่มีความย่อการแก้ไขกำกับมา อาจเป็นนัยของการก่อกวน การเปลี่ยนแปลงตัวเลข เช่นเพิ่มหรือลดทีละ 1 เป็นพฤติการณ์ที่พบได้บ่อย
 
==วิธีโต้ตอบการก่อกวน==
หากคุณพบว่ามีการก่อกวนในบทความ สิ่งง่ายที่สุดที่สามารถทำได้คือการลบออกหรือทำกลับ แต่บางครั้งการก่อกวนก็เกิดขึ้นซ้อนกับการก่อกวนที่เกิดขึ้นมาก่อนและยังไม่ถูกตรวจพบ เป็นชั้น ๆ ไป บางครั้งผู้ใช้ก็ทำการแก้ไขไปโดยไม่ทราบว่ามีการก่อกวนอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งสามารถทำให้การตรวจสอบและลบการก่อกวนกวนทำได้ยากขึ้น ด้วยเหตุที่อยู่ปนกันกับการแก้ไขอื่น ๆ บางครั้งบอตก็พยายามแก้ความเสียหายที่ลุกลาม แต่กลับกลายเป็นว่าทำให้เสียหายยิ่งกว่าเดิม ตรวจสอบประวัติของหน้าเพื่อให้แน่ใจว่าคุณได้ย้อนการแก้ไขกลับไปยังรุ่นที่ "สะอาด" ของหน้า ในกรณีที่คุณไม่แน่ใจว่ารุ่นไหนเหมาะสมที่สุด ให้คุณใช้วิจารณญาณอย่างสุดความสามารถ และทิ้งข้อความไว้ในหน้าอภิปราย (พูดคุย) ของบทความ เพื่อผู้ใช้ที่คุ้นเคยกับบทความนั้นมากกว่าจะสามารถระบุปัญหาได้ หรือคุณอาจลบการก่อกวนออกด้วยมือโดยไม่ต้องใช้การทำกลับก็ได้เช่นกัน
 
หากคุณพบการก่อกวนบนหน้าสำหรับแสดงการเปลี่ยนแปลง (เช่นบนรายการเฝ้าดูของคุณ) ขอให้ย้อนการก่อกวนนั้นทันที คุณสามารถใช้ปุ่ม "ทำกลับ" (ซึ่งจะสร้างความย่อการแก้ไขโดยอัตโนมัติ) และทำเครื่องหมายว่าเป็นการแก้ไขเล็กน้อย การตรวจดูประวัติการแก้ไขของหน้าจะช่วยระบุว่าการแก้ไขครั้งก่อน ๆ โดยผู้ใช้รายเดียวกันนี้หรือรายอื่น แสดงให้เห็นลักษณะของการก่อกวนหรือไม่ โปรดลบการก่อกวนทุกอย่างที่คุณสามารถระบุได้ออก
 
สำหรับหน้าที่สร้างขึ้นใหม่ ถ้าการแก้ไขทุกครั้งเป็นการก่อกวนทั้งสิ้น ให้ร้องขอ{{strong|[[วิกิพีเดีย:เงื่อนไขสำหรับการลบทันที|การลบแบบเร่งด่วน]]}}ด้วยการติดป้าย {{tlx|ลบ|[[WP:ท3]]}}
 
การย้อนกลับการก่อกวนสามารถทำได้ง่ายขึ้นด้วย [[วิกิพีเดีย:สคริปต์จัดให้|สคริปต์จัดให้]] ซึ่งผู้ใช้ลงทะเบียนสามารถติดตั้งได้ สคริปต์นี้มีฟังก์ชันย้อนรวดเดียวสำหรับย้อนข้ามการก่อกวนและการแก้ไขที่รบกวนระบบอื่น ๆ ได้หลายรุ่นในปุ่มเดียว
 
หากคุณพบว่าผู้ใช้รายหนึ่งกระทำการก่อกวนบทความ คุณอาจตรวจสอบการแก้ไขที่ผ่านมาของเขาด้วย (คลิกที่ "การมีส่วนร่วมของผู้ใช้" บนแถบด้านซ้ายของหน้าจอ) ถ้าการแก้ไขส่วนใหญ่หรือทั้งหมดเป็นการก่อกวน คุณอาจรายงานผู้ใช้นี้ที่ [[วิกิพีเดีย:รายชื่อการก่อกวน]] เพื่อให้ผู้ดูแลระบบจัดการบล็อกผู้ใช้นั้น ในกรณีนี้คุณยังควรส่งข้อความแจ้งเตือนผู้ก่อกวนก่อน เว้นเสียแต่ว่ามีเหตุเร่งด่วนที่จะต้องบล็อกผู้ใช้นี้ (ผู้ก่อกวนที่แกล้งใส่ข้อความขำขันโดยทั่วไปมักจะเลิกก่อกวนไปเองภายหลังจากที่ได้รับการแจ้งเตือน) ในประการอื่น คุณสามารถทิ้งข้อความเตือนที่เหมาะสมไว้บนหน้าพูดคุยของผู้ใช้นั้น พึงระลึกว่าผู้ใช้สามารถลบข้อความใด ๆ บนหน้าพูดคุยของเขาเองได้ ทำให้ข้อความดังกล่าวปรากฏอยูแต่ในประวัติของหน้า หากว่าผู้ใช้ยังคงทำการรบกวนระบบทั้งที่ได้รับคำเตือนแล้ว ให้รายงานผู้ใช้นั้นที่ [[วิกิพีเดีย:แจ้งผู้ดูแลระบบ/แจ้งความ]] ที่ซึ่งผู้ดูแลระบบจะทำการพิจารณาว่าจะบล็อกผู้ใช้นั้นหรือไม่
 
สำหรับการก่อกวนซ้ำซากโดยผู้ใช้ไอพี อาจพิจารณาการติดตามที่อยู่ไอพี (เช่น http://whois.domaintools.com/) จากนั้นเพิ่ม {{tlx|whois|{{var|Name of owner}}}} ไปยังหน้าพูดคุยของไอพีนั้น หากปรากฏว่าเป็นที่อยู่ไอพีที่ใช้ร่วมกัน ให้เพิ่ม {{tlx|SharedIP|{{var|Name of owner}}}} หรือ {{tlx|Shared IP edu|{{var|Name of owner}}}} แทน
 
=== ตรวจสอบ ไอพีแอดเดรส ===