ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นีโครโนมิคอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 16:
==ประวัติสมมุติ==
{{Wikisourcelang|en|History of the Necronomicon|ประวัติของนีโครโนมิคอน}}
เลิฟคราฟท์ได้เขียนประวัติสมมุติคร่าวๆคร่าว ๆของนีโครโนมิคอนในปี พ.ศ. 2470 และได้รับการเผยแพร่ในชื่อว่า ''ประวัติของนีโครโนมิคอน'' ในปี[[พ.ศ. 2481]] หลังจากที่เลิฟคราฟท์เสียชีวิตไปแล้ว<ref>[http://www.mythostomes.com/content/view/12/72/ H. P. Lovecraft's ''History of the Necronomicon'']</ref> ทำให้นักประพันธ์รุ่นหลังสามารถเขียนถึงนีโครโนมิคอนอย่างสอดคล้องกันได้<ref>[http://www.mythostomes.com/content/view/99/72/ A Note About the Necronomicon]</ref>
<!-- ข้อความในส่วนนี้จะใช้ปี ค.ศ. เพื่อคงตามต้นฉบับเดิม -->
 
ในประวัติของนีโครโนมิคอนนั้น เดิมทีหนังสือเล่มนี้มีชื่อว่า '''อัล อาซิฟ''' (Al Azif) ซึ่งเป็นศัพท์อาหรับที่เลิฟคราฟท์แปลว่า "เสียงในยามราตรี (ที่แมลงทำ) ซึ่งเหมือนเสียงหอนของปิศาจ" (พจนานุกรม อาหรับ/อังกฤษเล่มหนึ่งระบุว่า ''`Azīf'' หมายถึง "เสียงหวีดหวิว (ของลม); เสียงประหลาด")<ref>''The Hans Wehr Dictionary of Modern Written Arabic'', ed. J.M. Cowan.</ref>
 
อับดุล อัลฮาเซรด "อาหรับวิปลาส" ผู้เขียนนีโครโนมิคอนนั้นเป็นผู้บูชา[[ยอก โซธอท]]และ[[คธูลู]] มาจาก[[ซานา]]ใน[[ประเทศเยเมน|เยเมน]] และเคยไปเยือนซากโบราณแห่ง[[บาบิโลน]] "ความลับใต้ดิน" ของเมืองเมมฟิสใน[[ประเทศอียิปต์]] และค้นพบนครไร้นามใต้ไอเรมในทะเลทรายของอาหรับ อัลฮาเซรดได้อาศัยอยู่ที่[[ดามัสกัส]]และได้เขียนอัล อาซิฟก่อนจะถูกอสุรกายที่มองไม่เห็นฉีกร่างเป็นชิ้นๆชิ้น ๆ ในปี ค.ศ. 738
 
อัล อาซิฟ ได้รับความสนใจอย่างมากจากเหล่านักปรัชญาในสมัยนั้น และได้รับการแปลเป็นภาษากรีกในปี ค.ศ. 950 โดยธีโอโดรัส ฟิเลตัส นักศึกษาจาก[[คอนสแตนติโนเปิล]] ผู้ตั้งชื่อให้หนังสือเล่มนี้ว่า ''นีโครโนมิคอน'' เนื่องจากมีผู้ได้ทดลองกระทำสิ่งที่น่ากลัวตามนีโครโนมิคอน ทำให้[[พระสังฆราชไมเคิลที่หนึ่ง]]ประกาศให้เป็น[[หนังสือต้องห้าม]]และเผาทำลายในปี 1050 จึงมีการเผยแพร่อย่างลับๆลับ ๆ เท่านั้น
 
ในปี 1228 บาทหลวง[[ลัทธิโดมินิกัน]] ''ออเล วอร์เมียส''ได้แปลนีโครโนมิคอนเป็น[[ภาษาละติน]] (ในความเป็นจริงนั้น [[ออเล วอร์ม]]เป็นแพทย์ชาว[[ประเทศเดนมาร์ก|เดนนิช]]และมีชีวิตอยู่ในช่วง 1588 ถึง 1655) [[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 9]] ได้สั่งให้นีโครโนมิคอนทั้งสองภาษาเป็นหนังสือต้องห้ามในปี 1232 แต่ก็มีการพิมพ์ฉบับภาษาละตินในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ใน[[ประเทศเยอรมนี]]และช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ใน[[ประเทศสเปน]] ส่วนฉบับภาษากรีกนั้นมีการเผยแพร่ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ใน[[ประเทศอิตาลี]]
 
ใน[[สมัยเอลิซาเบธ]] [[จอห์น ดี]]ได้แปลนีโครโนมิคอนเป็นภาษาอังกฤษ แต่ไม่เคยมีการตีพิมพ์และมีต้นฉบับเหลืออยู่เพียงบางส่วนเท่านั้น (เนื้อหาที่โยงจอห์น ดีเข้ากับนีโครโนมิคอนนี้ [[แฟรงก์ เบลค์นาพ ลอง]]เป็นผู้เสนอให้เลิฟคราฟท์)
 
สำเนาของนีโครโนมิคอนฉบับดั้งเดิมนั้นมีเก็บไว้ตามสถาบันต่างๆต่าง ๆ เพียงห้าเล่มเท่านั้น
* ที่[[พิพิธภัณฑ์บริติช]]
* หอสมุดแห่งชาติ[[ประเทศฝรั่งเศส]]
บรรทัด 38:
นอกจากนั้นแล้วยังมีสำเนาที่เก็บไว้เป็นของส่วนตัว คือที่ปรากฏในเรื่อง ''The Case of Charles Dexter Ward'' ในเรื่อง ''The Festival'' ในเรื่อง ''The Nameless City'' และในเรื่อง ''The Hound''
 
อัล อาซิฟ ฉบับภาษาอาหรับนั้นหายสาบสูญไปแล้วก่อนที่นีโครโนมิคอนจะกลายเป็นหนังสือต้องห้าม แม้ว่าจะมีการอ้างถึงสำเนาลับๆลับ ๆ ที่ปรากฏใน[[ซานฟรานซิสโก]]ในช่วงศตวรรษที่ 20 ซึ่งก็สาบสูญไปในอุบัติเหตุไฟไหม้ในเวลาต่อมา ส่วนฉบับภาษากรีกนั้นก็ไม่เคยมีใครพบอีกเลยหลังจากที่ห้องสมุดของชายชาว[[ซาเลม]]ถูกเผาไปในปี 1692
 
==ลักษณะและเนื้อหา==