ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปีเตอร์ คาร์ล แฟเบอร์เช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{เก็บกวาด}}
[[ภาพ:Petar karl faberze.jpg|thumb|200px|ปีเตอร์ คาร์ล ฟาเบอร์เช่]]
เส้น 6 ⟶ 7:
== ชีวประวัติของปีเตอร์ คาร์ล ฟาเบอร์เช่ ==
[[ภาพ:Fabergé logo.jpg|thumb|120px|ตราฟาเบอร์เช่]]
รกรากของครอบครัวฟาเบอร์เช่นั้นมาจาก[[ประเทศฝรั่งเศส]] ด้วยความที่ครอบครัวเป็น Huguenot ที่เป็น[[นิกายโปรเตสแตนต์|โปรเตสแตนท์]]พวกเขาจึงได้อพยพหนีกันออกไปจาก[[พระราชกฤษฎีกาแห่งนองซ์]]ในปีค.ศ. 1685 ที่จะลบล้างอูเกอโนท์ ([[:en:Huguenots|Huguenots]]) หรือชาวฝรั่งเศสผู้ที่นับถือ[[นิกายโปรเตสแตนต์]]ออกจากฝรั่งเศส ตระกูลฟาเบอร์เช่บางส่วนก็ย้ายไปตั้งรกรากทั้งใน[[ประเทศเยอรมันนี|เยอรมันนี]] เอสโทเนีย และ [[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]] สำหรับ ปีเตอร์ คาร์ล ฟาเบอร์เช่ โดยในปีคศ.ศ. 1842 พ่อของฟาเบอร์เช่ กุสตาฟได้มาตั้งร้านจิลเวลลี่ในเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก
 
ปีเตอร์ คาร์ล ฟาเบอร์เช่เองเกิดเมื่อปีค.ศ. 1846 ใน[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก|กรุงเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก]] ด้วยความที่ครอบครัวของเขาเป็นช่างทองตั้งแต่ในอดีต เขาจึงได้ไปศึกษาเล่าเรียนทักษะในด้านงานช่างทองในเยอรมนี หลังจากจบการศึกษามา เขาก็เริ่มต้นนำทักษะของเขามาใช้ในงานจริง ด้วยวัย 24 ปี ฟาเบอร์เช่ก็ได้เปิดกิจการอัญมณีในรัสเซียที่เซนต์ปีเตอร์เบิร์กอีกครั้งในปี ค.ศ.1870 หลังจากพ่อของเขาได้เกษียณและเลิกทำกิจการไป กว่า10ปีในการเป็นหัวเรือใหญ่ในธุรกิจ เขาได้พยายามสร้างสรรค์งานของเขาให้เทียบเท่าและสูงกว่างานของช่างอัญมณีทั่วไป หากมีเวลาว่างเมื่อไหร่เขาก็จะทุ่มเวลากับการศึกษามรดกสมบัติที่ล้วนมีค่าที่เก็บสะสมไว้โดยพระเจ้าซาร์แห่งรัสเซีย ที่ฟาเบอร์เช่ได้เห็นจากแคตาล็อกประเมินราคา และการซ่อมแซมงานพวกนี้ ในที่สุดเขาก็ได้ทำธุรกิจใหม่ขึ้นโดยความช่วยเหลือจากน้องชายชื่ออการ์ธอน (Agathon) สู่การเปลี่ยนโฉมหน้าครั้งใหญ่ของงานศิลปะอัญมณี โดยในปีค.ศ 1882 คาร์ลและน้องชายอาการ์ธอนได้ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานที่ออกมาอย่างวิจิตร โดยได้แรงบัลดาลใจจากศิลปะของรัสเซียในยุคโบราณและผลงานชิ้นนี้ก็ถูกขายไป Eric Kollinช่างชาวฟินน์ก็เป็นอีกคนหนึ่งที่มีส่วนร่วมช่วยในจำนวนงานของสองพี่น้องนี้ที่จะนำไปจัดแสดงขึ้นในมอสโก พระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่3และพระมเหสีซารีน่ามาเรีย ก็ทรงได้เข้าร่วมในงานแสดงผลงานล้ำค่าของฟาเบอร์เช่ด้วย นอกจากนั้นแล้วฟาบาเช่ยังได้ถูกเสนอได้รับเหรียญเกียรติยศ (Gold Medal at the Pan-Russian exhibition in 1882) ในฐานะที่ได้เปิดศักราชใหม่แห่งวงการศิลปะอัญมณี ในเวลานั้นผู้คนต่างหลงไหลในมูลค่าและความงามของงานอัญมณีที่ประดับด้วยโลหะมีค่าและอัญมณีหายาก ซึ่งฟาเบอร์เช่นั้นก็เข้าใจดีว่าความคิดสร้างสรรค์ที่บรรเจิดและฝีมือช่างที่ดีจะนำไปสู่การสร้างเงินและมูลค่าของงานที่มหาศาล
เส้น 12 ⟶ 13:
[[ภาพ:Equestrian Egg.jpg|thumb|200px|ไข่อัญมณีฟาเบอร์เช่]]
โรงงาน(Workshop) ของฟาเบอร์เช่นั้นก็ล้วนเต็มไปด้วยช่างทองและช่างอัญมณีที่มีฝีมือดีสุดเท่าที่หาได้ในเวลานั้น ฟาเบอร์เช่ไม่ได้ทำเพียงแค่พวกงานไข่อีสเตอร์ที่เป็นตัวสร้างชื่อเสียงแก่ชื่อผลิตภัณฑ์ของเขาเท่านั้น ธุริกิจของเขายังแยกออกเป็นส่วนงานเล็กๆ อีกอย่างเช่น เครื่องโต๊ะเงิน อัญมณีประดับ ของกระจุกกระจิกเล็กๆ สไตล์ยุโรป งานแกะสลักสไตล์รัสเซีย โดยงานอัญมณีของฟาเบอร์เช่นั้นก็ได้รับการออกแบบอย่างวิจิตรหรูหราประดับด้วยสิ่งมีค่าและสิ่งที่มีค่าค่อนข้างสูงอย่าง ทอง เงิน มาลาไคต์ ลาพิซ เลซูลี และเพชร โดยได้รับแรงบันดาลใจจากศิลปะในการตกแต่งสมัย[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส]] และพระเจ้าหลุยส์ที่16 ศิลปะแบบคลาสสิค เรเนสซองค์ [[ศิลปะบาโรก|บาโรก]] [[ศิลปะโรโคโค|โรโคโค]] และ อาร์ทนูโว รวมทั้งอิทธิพลจาศิลปะของรัสเซียด้วย ซึ่งลวยลายในงานของฟาเบอร์เช่จะแบ่งออกเป็นทั้งกลุ่มลวดลายดอกไม้ กลุ่มลวดลายสลัก และกลุ่มลวดลายสัตว์ นอกจากนั้นแล้วผลงานเลื่องชื่ออย่างไข่อีสเตอร์ก็เป็นที่หมายปองของเหล่างราชวงศ์โรมานอฟ รวมทั้งราชวงศ์ในยุโรปและเอเชีย โดยมีช่างระดับชั้นครูอย่างมิคาอิล อีวลามพีเยวิช เพอร์ชิน (Michael Evlampievich Perchin) และเฮนริค วิคสโตรม (Henrik Wigström) มารับผิดชอบด้วย โดยตัวงานของฟาเบอร์เช่ที่รับผิดชอบโดยมิคาอิล เพอร์ชิน ตั้งแต่ปี ค.ศ.1886 จนถึงค.ศ.1903 จะได้รับการประทับตราMP ส่วนงานที่รับผิดชอบโดย เฮนริค วิคสโตรม จะได้รับการประทับตราHW ในตัวงานเอาไว้ แต่อย่างไรก็ตามก็ยังมีบางชิ้นในงานไข่อีสเตอร์ที่ไม่ได้รับการประทับตรา ซึ่งธุรกิจของฟาเบอร์เช่นั้นเติบโตเป็นอย่างมาก กิจการของฟาเปอร์เช่ขยายไปอย่างรวดเร็วจากสาขาเดียวที่เซนต์ปีเตอร์เบิร์ก ก็ขยายไปยังมอสโกในปีค.ศ.1887 และขยายกิจการไปยังเมืองเคียฟ โอเดซซา และลอนดอนในปีคศ. 1906
ผลงานที่งดงามที่ออกมาราวกับร่ายด้วยเวทย์มนต์เวทมนตร์ก็ได้ยุติลงเมื่อมีการปฎิวัติปฏิวัติเกิดขึ้นในปีคศ.ศ. 1917 รัฐก็ยึดงานและโรงงานกลับคืนมาเป็นของรัฐในช่วงต้นค.ศ. 1918 ฟาเบอร์เช่นั้นก็ได้ลี้ภัยออกไปยังฟินด์แลนด์โดยการช่วยเหลือของคนในสถานทูตอังกฤษ และย้ายมาสู่เมืองวิย์สบาเดน ในเยอรมนีในปีค.ศ.1920 ในปีเดียวกันนั้นเอง ปีเตอร์ คาร์ล ฟาเบอร์เช่ ก็ได้เสียชีวิตที่เมืองลูเซิน ในสวิตเซอร์แลนด์ ภายหลังศพของเขาได้ฝังไว้เคียงข้างออกุสตา อกาธอน ฟาเบอร์เช่ (Augusta Agathon Faberge) ภรรยาอันเป็นที่รักที่หนีรอดออกมาจากสหภาพโซเวียตได้ในปี 1928 โดยฝังไว้ที่ Cimetière du Grand Jas ที่เมืองคาร์ล ในฝรั่งเศสด้วยวัย 74 ปี
 
== ชื่อเสียงของฟาเบอร์เช่ในอเมริกา ==