ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หีนยาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพื่อนร่วมโลก (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
"'''หีนยาน'''"<!--Please do not insert other languages as the term Hinayana derives from Sanskrit and not other languages.--> ({{IPAc-en|ˌ|h|iː|n|ə|ˈ|j|ɑː|n|ə}}) เป็นคำ[[ภาษาสันสกฤต]]แปลตรงตัวว่า "ยานพาหนะคันเล็ก/คับแคบ, ไม่เพียงพอ"<ref>{{Cite web|url=https://www.sanskritdictionary.com/h%C4%ABnay%C4%81na/281660/1|title=Sanskrit Dictionary}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.sanskritdictionary.com/?iencoding=hk&q=h%C4%ABna&lang=sans&action=Search|title=Meaning of hina {{!}} hina meaning in sanskrit {{!}} origin and history of hina {{!}} sanskrit syllables and sounds and text in hina}}</ref> ศาสนาจารย์จีนและทิเบตดั้งเดิมนิยมแปลว่า "ยานที่เล็กกว่า"{{sfn|Rinpoche|1995|p=15}} หีนยานมักปรากฏใช้เพื่อขัดแย้งกับ [[มหายาน]] ซึ่งแปลว่า "ยานใหญ่"
'''หินยาน''' ([[ภาษาบาลี|บาลี]]; {{lang-sa|हीनयान}} ''Hīnayāna'') แปลว่า ยานชั้นแคบหรือยานที่ปฏิบัติได้ยาก เป็นคำที่คณาจารย์ฝ่าย[[มหายาน]]ใช้เรียกแนวการปฏิบัติใด ๆ ใน[[ศาสนาพุทธ]]ที่ไม่ได้ยึดแนวทางแบบ[[พระโพธิสัตว์]] แต่เน้นการปฏิบัติเพื่อ[[วิมุตติ|ความหลุดพ้น]]เฉพาะตนแบบพระ[[สาวก]]หรือ[[พระปัจเจกพุทธเจ้า]] จึงเรียกอีกอย่างว่า[[สาวกยาน]]และปัจเจกยาน ต่างจาก[[มหายาน]]ซึ่งเป็นแนวทางที่เน้นให้ผู้ปฏิบัติเป็น[[พระโพธิสัตว์]]บำเพ็ญบารมีมุ่งบรรลุเป็น[[พระพุทธเจ้า]] เพื่อจะได้ช่วยเหลือสรรพสัตว์จำนวนมากได้พ้นทุกข์ตามไปด้วย แนวทางอย่างหลังนี้จึงเรียกว่า [[มหายาน]] แปลว่ายานใหญ่<ref>เสถียร โพธินันทะ, ''ปรัชญามหายาน'', พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548, หน้า 1-3 </ref>
 
ในอดีต นักวิชาการตะวันตกนิยมใช้คำว่าหีนยานเพื่อเรียก "ระบบคำสอนที่เก่าแก่ที่สุดของศาสนาพุทธ" เช่นในพจนานุกรมภาษาสันสกฤตจาก ค.ศ. 1899<ref>Monier-Williams Sanskrit-English Dictionary (Oxford, 1899), "Proper Noun: simpler or lesser vehicle. Name of the earliest system of Buddhist doctrine (opposite to the later Mahayana; see [[Yana (Buddhism)|Yana]])."</ref>
 
นอกจากนี้ยังปรากฏ ''หีนยาน'' ใช้เป็นคำเรียกแทน[[เถรวาท]] ซึ่งเป็นนิกายของศาสนาพุทธที่นิยมปฏิบัติมากใน[[ศรีลังกา]]และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] นักวิชาการ [[Robert Thurman|รอเบิร์ท เธอร์แมน]]ระบุอ้าง[[Masatoshi Nagatomi|มาซาโทชิ นางาโทมิ]] ศาสตราจารย์ประจำ[[Harvard University|มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]]ว่า 'ศาสนาพุทธนิกายหีนยาน' เป็นคำที่สมาชิกบางส่วนของเถรวาทมองว่าเป็นคำที่ดูหมิ่นและไม่เหมาะสม<ref>Robert Thurman and Professor Masatoshi Nagatomi of Harvard University: Robert Thurman, in ''The Emptiness That is Compassion'', footnote 10, 1980.</ref>
 
== ต้นกำเนิด ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หีนยาน"