ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหวเมกะทรัสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 2:
 
== ศัพทวิทยา ==
ระหว่างการแตกออก ด้านหนึ่งของรอยเลื่อนจะถูกดันขึ้นไปเมื่อเทียบกับอีกด้านหนึ่ง และการเคลื่อนที่ประเภทนี้เป็นที่รู้จักกันว่า รอยเลื่อนย้อนมุมต่ำ (thrust)<ref>[{{Cite web |url=http://nthmp-history.pmel.noaa.gov/terms.html |title=Tsunami Terms<!-- Bot generated title -->] |access-date=2011-03-20 |archive-date=2011-02-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110225143835/http://nthmp-history.pmel.noaa.gov/terms.html |url-status=dead }}</ref> ซึ่งเป็นประเภทหนึ่งของรอยเลื่อนปกติ รอยเลื่อนย้อนมุมต่ำนี้เป็นรอยเลื่อนแบบกลับทิศโดยมีมุมเท 45° หรือน้อยกว่า<ref>[http://earthquake.usgs.gov/learn/glossary/?termID=59 Earthquake Glossary - dip slip<!-- Bot generated title -->]</ref> รอยเลื่อนตามแนวเฉียงมีส่วนประกอบที่สำคัญของรูปแบบการเลื่อนไถล ถึงแม้ว่าเมกะทรัสต์จะไม่มีการจำกัดความอย่างเป็นทางการ คำดังกล่าวได้ถูกใช้อย่างกว้างขวาง<ref>{{cite journal |last=Park |first= |last2=''et al.'' |year=2005 |title=Performance Review of the Global Seismographic Network for the Sumatra-Andaman Megathrust Earthquake |journal=Seismological Research Letters |volume=76 |issue=3 |pages=331–343 |doi=10.1785/gssrl.76.3.331 }}</ref> และมักจะพิจารณาว่าเป็นรอยเลื่อนย้อนมุมต่ำขนาดใหญ่มาก ซึ่งมักจะเกิดขึ้นที่พื้นผิวของแผ่นเปลือกโลกตามเขตมุดตัวของเปลือกโลก
 
== อ้างอิง ==