ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพนเทียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|ชื่อแบรนด์เพนเทียม|เพนเทียมรุ่นแรก (P5)|อินเทล P5}}
 
'''เพนเทียม''' (Pentium) เป็น[[เครื่องหมายการค้า]]และ[[แบรนด์]]ของผลิตภัณฑ์[[ไมโครโพรเซสเซอร์]] [[x86]] หลายตัวจาก[[อินเทล|บริษัทอินเทล]]<ref>{{cite web |title=Microprocessor Quick Reference Guide |url=http://www.intel.com/pressroom/kits/quickreffam.htm |publisher=Intel |accessdate=2007-08-14}}</ref> เพนเทียมเปิดตัวครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2536]] โดยใช้[[สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์|สถาปัตยกรรม]] [[อินเทล P5|P5]] และมีการพัฒนาต่อเนื่องโดยชิปตัวใหม่ที่ออกมาจะใช้ชื่อรหัสตามหลังคำว่าเพนเทียมเช่น [[เพนเทียมโปร]] หรือ [[เพนเทียมดูอัล-คอร์]] จนกระทั่งในปี 2553 ทางอินเทลได้เปลี่ยนระบบการเรียกชื่อชิปในตระกูลเพนเทียมทั้งใหม่หมดให้ใช้เพียงแค่คำว่า "เพนเทียม" โดยไม่มีคำใดต่อท้าย<ref name="tgdaily.com">{{cite news |title=Intel to unify product naming scheme |url=http://www.tgdaily.com/content/view/33234/122/ |publisher=TG Daily |accessdate=2007-08-15 |archive-date=2007-09-26 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070926232224/http://www.tgdaily.com/content/view/33234/122/ |url-status=dead }}</ref>
 
แม้ว่าเพนเทียมถูกออกแบบมาให้เป็นรุ่นที่ 5 ที่ใช้สถาปัตยกรรม P5 ชิปที่พัฒนาต่อมาได้มีการนำสถาปัตยกรรมตัวใหม่ที่นำมาพัฒนามาใช้ภายใต้ชื่อตระกูลเพนเทียม เช่น [[อินเทล P6|P6]], [[เน็ตเบิรสต์]], [[คอร์ (สถาปัตยกรรมไมโคร)|คอร์]], [[เนเฮเลม]] และล่าสุดคือสถาปัตยกรรม[[แซนดีบริดจ์]]