ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพนท์อิท, แบล็ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 1:
'''เพนท์อิท, แบล็ก''' ({{lang-en|Paint It, Black}}) เป็นเพลงจากอัลบัมที่สี่ ชุด ''Aftermath'' ของวง[[เดอะโรลลิงสโตนส์]] วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1966 เป็นซิงเกิลแรกที่ตัดจากอัลบัมชุดนี้<ref name=Paytress>Mark Paytress, {{cite book|url=http://books.google.com/books?id=toSbe1xQxToC&pg=PA109&lpg=PA109&dq=%22paint+it+black%22+comma&source=web&ots=2-0R9xqzWB&sig=iPEQDBPz-zGJzbYTkeTTRdutRs8 |title=''The Rolling Stones: off the record'', pp 108-109 |publisher=Omnibus Press, 2003, ISBN 0711988692 |date= |accessdate=2010-03-17}}</ref> เดิมเพลงนี้ใช้ชื่อว่า "เพนท์อิทแบล็ก" (Paint It Black) โดยไม่มีเครื่องหมาย[[จุลภาค]] [[คีธ ริชาร์ด]] ผู้แต่งร่วมระบุว่า จุลภาคในชื่อเพลงถูกเติมขึ้นมาโดยบริษัท[[เดคคาเรเคิดส์]] ผู้จัดจำหน่ายแผ่นเสียง<ref name=Paytress/>
 
เพลงนี้เป็นผลงานแต่งร่วมกันของสมาชิกทั้งวง คือ [[มิก แจ็กเกอร์]], คีธ ริชาร์ด, [[ไบรอัน โจนส์]] และ[[บิล ไวแมน]] แต่ในเครดิตเพลงระบุผิดพลาดว่าเป็นผลงานของ "แจ็กเกอร์/ริชาร์ด" แทนที่จะเป็น "Nanker Phelge"<ref>"Nanker Phelge" เป็นนามแฝงที่ใช้ในการแต่งเพลงของเดอะโรลลิงสโตนส์ในช่วงปี 1962 ถึง 1966 สำหรับผลงานการแต่งร่วมโดยสมาชิกทุกคน</ref> เป็นเพลงในแนว[[ไซเคเดลิกร็อก]] มีกลิ่นอายของดนตรี[[อินเดีย]]<ref>{{cite web| url =http://www.allmusic.com/explore/style/psychedelic-d380/songs| title= =The Top Psychedelic Songs| publisher =Allmusic| access-date =2012-02-10| archive-date =2010-12-10| archive-url =https://web.archive.org/web/20101210020523/http://allmusic.com/explore/style/psychedelic-d380/songs| url-status =dead}}</ref><ref>""Paint It, Black" a glorious Indian raga-rock riot that will send the Stones back to #1", Nicholas Schaffner, The British invasion: from the first wave to the new wave, (McGraw-Hill, 1982) ISBN 0070550891</ref> มีการนำ[[ซีตาร์]]มาร่วมบรรเลงท่อน[[ริฟฟ์]]โดยไบรอัน โจนส์<ref>ไบรอัน โจนส์ เพิ่งหัดเล่นซีตาร์ได้ไม่นาน หลังจากได้ทดลองเล่นซีตาร์ของ[[จอร์จ แฮร์ริสัน]]</ref> เริ่มจากการเล่นดนตรีในห้องอัด โดยไวแมนเริ่มเล่น[[เปียโน]]ล้อทำนอง[[ออร์แกน]]ของเอริก อีสตัน อดีตผู้จัดการวง จากนั้นชาร์ลี วัตต์ มือกลอง เริ่มตีกลองเป็นจังหวะหลักของเพลง และโจนส์เริ่มเล่นท่อนริฟฟ์ซีตาร์ที่มีชื่อเสียง ตามด้วยเสียงร้องโดยแจ็กเกอร์ บรรยายความเศร้าโศก การไว้อาลัยของชายหนุ่มที่เพิ่งสูญเสีย จากความตายของคู่รัก
 
เพลงนี้ได้รับความนิยม ติดอันดับหนึ่งทั้งชาร์ต[[บิลบอร์ดฮอต 100]] และ[[ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร]] และยังติดอันดับหนึ่ง[[ชาร์ตซิงเกิลของนิตยสารอาร์พีเอ็ม]]ใน[[แคนาดา]] และ[[ดัตช์ทอป 40]] ใน[[เนเธอร์แลนด์]]<ref>{{cite web |url=http://www.top40.nl/index.aspx?week=24&jaar=1966 |title=Nederlandse Top 40, week 24, 1966 (Dutch) |accessdate={{Start date|2009|4|26|df=yes}}}}</ref> เป็นซิงเกิลติดอันดับหนึ่งซิงเกิลแรกแรกในประวัติศาสตร์ ที่มีการนำซีตาร์มาบรรเลง{{อ้างอิง}} [[นิตยสารโรลลิงสโตน]]ได้จัดให้เพลงนี้อยู่ในอันดับที่ 174 ของ [[500 เพลงยอดเยี่ยมตลอดกาล]] จากการจัดอันดับในปี 2004<ref>{{cite web