ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูกปรายหิมะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nix Sunyata (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มคำอธิบาย เพิ่มภาพ
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มคำบรรยายภาพ + แม่แบบสภาพอากาศ
 
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Graupel Falling.jpg|thumb| ลูกปรายหิมะกำลังตก]]
{{สภาพอากาศ}}
 
'''ลูกปรายหิมะ''' ({{lang-en|Graupelgraupel}} (/ˈɡraʊpəl/)) หรืออาจเรียก เม็ดหิมะ<ref>[[mwod:graupel|"Graupel - Definition"]]. Merriam-Webster Dictionary. Merriam-Webster. Retrieved 15 Jan 2012.</ref> เป็น[[หยาดน้ำฟ้า]]ชนิดหนึ่ง เกิดจากการตกตะกอนเมื่อละอองหยดน้ำ (อนุภาคหยดน้ำขนาดเล็กมาก) ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งแต่ยังไม่แข็งตัว (supercool) เข้ารวมตัวและแข็งตัวบนเกล็ดหิมะที่กำลังตกลงมา โดยมีขนาด 2 – 5 มม. (0.08 – 0.20 นิ้ว )<ref>[https://cloudatlas.wmo.int/en/glossary.html "Glossary"]. International Cloud Atlas. World Meteorological Organization. 2017. Retrieved 2019-09-03.</ref> มีลักษณะเป็นอนุภาคเกล็ดน้ำแข็งสีขาวทึบ รูปร่างกลม แต่โดยทั่วไปจะเป็นรูปทรงของเกล็ดหิมะที่ขยายขนาด
''ลูกปรายหิมะ'' แตกต่างจากลูกเห็บ ซึ่งลูกเห็บเกิดอย่างปกติทั่วไปในภาวะอากาศแปรปรวน เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง ส่วนลูกปรายหิมะมักจะตกเป็นปกติในพายุฤดูหนาว
 
== ระเบียงภาพ ==
<gallery widths="180px" heights="150px">
ไฟล์:Schneeflocke wird zu Graupel.jpg|เกล็ดหิมะ ที่กำลังเปลี่ยนเป็น''ลูกปรายหิมะ''