ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิสุงคามสีมา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 9:
ในมาตรา 9 ยังบัญญัติว่า "ผู้ใดจะสร้างวัดขึ้นใหม่ต้องได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตก่อนจึงจะสร้างได้" โดยกำหนดขั้นตอนการสร้างวัด และบัญญัติเรื่องการพระราชทานวิสุงคามสีมาไว้ ผลของกฎหมายนี้ จึงทำให้วัดที่สร้างภายหลัง หากมิได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตแล้ว ก็ไม่มีฐานะเป็นนวัดที่ชอบด้วยกฎหมาย
 
ต่อมามีการประกาศพระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 และบรรพ 2 ที่ได้ตรวจชำระใหม่เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 โดยบทบัญญัติ ของมาตรา 72 (2) ส่งผลให้วัดมีสถานะเป็นนิติบุคคล ต่อมามีการประากาศประกาศใช้พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2484 บัญญัติวัดไว้สองประเภท คือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมากับสำนักสงฆ์<ref>พระสิทธินิติธาดา, 65.</ref>
 
จากกฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2520) ว่าด้วยการปกครองคณะสงฆ์อื่น ประกาศใช้เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ได้บัญญัติหลักเกณฑ์การสร้างวัดคณะสงฆ์อื่นอันได้แก่
[[อนัมนิกาย]]และ[[จีนนิกาย]] ยังได้มีบทบัญญัติกําหนดหลักเกณฑ์ในการสร้างวัด การตั้งวัด การรวมวัด การย้ายวัด การยุบเลิกวัด และการขอรับพระราชทานวิสุงคามสีมา โดยกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและขั้นตอนเช่นเดียวกับการขอจัดตั้งวัดของคณะสงฆ์ไทย<ref>พระสิทธินิติธาดา, 67.</ref>
 
==เขตวิสุงคามสีมา==