ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การพิสูจน์ว่ามีส่วนได้ส่วนเสีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''การพิสูจน์ว่ามีส่วนได้ส่วนเสีย''' (Proof-of-stake, PoS) เป็น[[ขั้นตอนวิธี]]แบบหนึ่งที่เครือข่าย[[บล็อกเชน]]ของ[[เงินคริปโท]]ใช้เพื่อให้ถึง[[ความเห็นพ้อง (วิทยาการคอมพิวเตอร์)|ความเห็นพ้อง]]แบบกระจาย
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
การพิสูจน์ว่ามีส่วนได้ส่วนเสีย, พิสูจน์ว่ามีส่วนได้ส่วนเสีย
Proof-of-stake, PoS
-->
'''การพิสูจน์ว่ามีส่วนได้ส่วนเสีย''' (Proof-of-stake, PoS) เป็น[[ขั้นตอนวิธี]]แบบหนึ่งที่เครือข่าย[[บล็อกเชน]]ของ[[เงินคริปโท]]ใช้เพื่อให้ถึงความเห็นพ้องแบบกระจาย
เป็นระบบที่ไม่เหมือน proof-of-work (PoW) ที่ใช้ในเงินคริปโทเช่น [[บิตคอยน์]] ที่ให้รางวัลแก่ผู้เข้าร่วมแก้ปัญหา[[วิทยาการรหัสลับ]]ที่ซับซ้อนในการพิสูจน์ยืนยัน[[การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์|ธุรกรรม]]และสร้างบล็อกใหม่ ๆ (ที่เรียกว่า ไมนิง คือการขุดหาเหรียญ)
 
ในระบบ PoS ผู้สร้างบล็อกต่อไปจะได้รับเลือกอย่างกำหนดได้แบบสุ่มเทียม (deterministic, pseudo-random) และโอกาสได้รับเลือกจะขึ้นอยู่กับความร่ำรวย ซึ่งก็คือความมีส่วนได้ส่วนเสีย
ในระบบเงินคริปโทแบบ PoS บล็อกหนึ่ง ๆ จะเรียกว่า ตีขึ้น (forged, อุปมาโดยช่างเหล็ก) หรือเรียกว่า ทำเหรียญ/พิมพ์เงิน (minted) ไม่ใช่ขุดหาเหรียญ/ไมนิง
อนึ่ง ปกติแล้วเงินทั้งหมดจะสร้างขึ้นตั้งแต่ต้น และจำนวนเงินทั้งหมดจะไม่เปลี่ยนไปทีหลัง (แม้จะมีระบบ PoS ที่สร้างเงินขึ้นใหม่ได้เหมือนกัน)
ดังนั้น ในรูปแบบพื้นฐานของ PoS จะไม่มีรางวัลในการสร้างบล็อกใหม่เหมือนกับในบิตคอยน์ ดังนั้น ผู้ตีบล็อกใหม่ขึ้นจะได้แต่ค่าธรรมเนียมการทำธุรกรรม<ref>{{Cite doi |10.5195/ledger.2016.46}}<!-- Popov, Serguei (2016). "A Probabilistic Analysis of the Nxt Forging Algorithm". Ledger. 1: 69-83. ISSN 2379-5980. --></ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[บิตคอยน์]]
 
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{คริปโทเคอร์เรนซี}}
{{เงินคริปโท}}
 
[[หมวดหมู่:วิทยาการเข้ารหัสลับ]]
[[หมวดหมู่:เงินคริปโทคริปโทเคอร์เรนซี]]
{{โครงคอมพิวเตอร์}}