ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัลกออิดะฮ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 11 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 113:
}}
 
'''อัลกออิดะฮ์''' ({{lang-ar|القاعدة‎}}/ælˈkaɪdə, ˌælkɑːˈiːdə/; อาหรับ: القاعدة‎ al-Qā`idaQāʿidah, สัทอักษรสากล: [ælqɑːʕɪdɐ], translation: "ฐาน"), "รากฐาน", หรือสะกดคำอีกนัยหนึ่งว่า '''แอล-ไคดา''' (และ '''แอล-เคดา''') เป็นองค์กรข้ามชาติ<ref name="gallagher14" />ของกลุ่มนักรบอิสลามนิกายซุนนี<ref name="dalacoura40">{{lang-enharvnb|alDalacoura|2012|pp=40-Qaeda48}})</ref> ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่า เป็น[[กลุ่มการก่อการร้าย|องค์กรผู้ก่อการร้าย]]อิสลามสากล<ref name="dalacoura40" /> ถูกก่อตั้งโดยในปี ค.ศ. 1988<ref name="bergen752">{{harvnb|Bergen|2006|p=75}}.</ref> โดย[[อุซามะฮ์ บิน ลาดิน]], [[อับดุลลาห์ อัซซัม]] (Abdullah Azzam)<ref>{{cite news|urldate=http://www.pbs.org/moyers/journal/07272007/alqaeda.htmlJuly 27, 2007|title=Bill Moyers Journal. A Brief History of Al Qaeda|publisher=PBS.com|dateurl=July 27, 2007https://www.pbs.org/moyers/journal/07272007/alqaeda.html|accessdateaccess-date=March 31, 2012}}</ref> และนักรบอื่นทหารอาสาสมัครชาวอาหรับอีกหลายคน บางในช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531<ref name=bergen75>{{Harvnb|Bergen|2006|p=75}}.</ref> และปลายปี 2532[[สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน]]<ref name="al-FadlAntiSoviet">{{cite court|litigants=United States v. Usama bin Laden et al.|volume=S (7) 98|reporter=Cr.|opinion=1023|pinpoint=Testimony of Jamal Ahmed Mohamed al-Fadl|court=[[United States District Court for the Southern District of New York|SDNY]]|date=February 6, 2001|url=http://cryptome.org/usa-v-ubl-02.htm}}</ref> โดยมีจุดกำเนิดย้อนไปถึง[[สงครามในอัฟกานิสถานของโซเวียต]]<ref>{{cite news|date=July 20, 2004|title=Al-Qaeda's origins and links|work=BBC News|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/middle_east/1670089.stm|title=Alaccess-Qaeda's origins and links|publisher=BBC News|date=July 20, 2004|accessdate=June 3, 2014}}</ref><ref name="Cooley">{{Cite newsbook|last1=Cooley|first1=John K.|authorlink=John K. Cooley|title=Unholy Wars: Afghanistan, America and International Terrorism|work=[[Demokratizatsiya (journal)|Demokratizatsiya]]|date=Spring 2003|urlauthor-link=http://findarticlesJohn K.com/p/articles/mi_qa3996/is_200304/ai_n9199132|format=reprint Cooley}}</ref> อัลกออิดะฮ์ปฏิบัติการเป็นเครือข่ายประกอบด้วยกองทัพไร้รัฐหลายชาติ<ref>{{Harvnb|Gunaratna|2002|pp=95–96}}<br/> See also:
* {{Cite journal|last=Naím|first=Moisés|authorlink=Moisés Naím|title=The Five Wars of Globalization|journal=[[Foreign Policy]]|issue=134|pages=28–37|date=January–February 2003|ref=harv}}</ref> และกลุ่ม[[ญิฮัด]][[วะฮะบีย์]]อิสลามสุดโต่ง<ref name="autogenerated1">{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/middle_east/6241120.stm|title=Middle East &#124; Wahhabi opponent killed in Iran|publisher=BBC News|date=June 26, 2007|accessdate=August 18, 2014}}</ref> [[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ]] [[องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ]] [[สหภาพยุโรป]] สหรัฐอเมริกา รัสเซีย อินเดียและอีกหลายประเทศประกาศให้เป็นองค์การก่อการร้าย อัลกออิดะฮ์ดำเนินการโจมตีต่อเป้าหมายที่องค์การถือเป็นกาฟิร (kafir)<ref>Jihadi Terrorism and the Radicalisation Challenge: p.219, Rik Coolsaet – 2011</ref> ระหว่าง[[สงครามกลางเมืองซีเรีย]] กลุ่มแยกอัลกออิดะฮ์เริ่มต่อสู้กันเอง ตลอดจนชาวเคิร์ดและรัฐบาลซีเรีย
 
อัลกออิดะฮ์ได้ดำเนินในฐานะเครือข่ายของกลุ่มอิสลามหัวรุนแรงและกลุ่มนักรบญิฮาดิสต์ซาลาฟิสต์ องค์กรนี้ถูกกำหนดให้เป็นกลุ่มก่อการร้ายโดย[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ]] [[องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ]](เนโท) [[สหภาพยุโรป]](อียู) สหรัฐอเมริกา จีน สหราชอาณาจักร รัสเซีย อินเดียและประเทศอื่น ๆ อีกหลายประเทศ อัลกออิดะฮ์ได้เข้าโจมตีเป้าหมายที่ไม่ใช่ทหารและเป้าหมายทางทหารในหลายประเทศ รวมทั้งเหตุระเบิดสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐ ค.ศ. 1998 [[วินาศกรรม 11 กันยายน]] และเหตุระเบิดที่บาหลี ค.ศ. 2002<ref name="dalacoura40" />
อัลกออิดะฮ์โจมตีต่อเป้าหมายพลเรือนและทหารในหลายประเทศ ซึ่งรวม[[วินาศกรรม 11 กันยายน]] เหตุระเบิดสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐ พ.ศ. 2541 และ[[เหตุระเบิดที่บาหลี พ.ศ. 2545]] รัฐบาลสนองวินาศกรรม 11 กันยายนโดยการเปิดฉาก "[[สงครามต่อต้านการก่อการร้าย]]" ด้วยการสูญเสียผู้นำคนสำคัญ จนถึงอุซามะฮ์ บิน ลาดิน ปฏิบัติการของอัลกออิดะฮ์จึงตกจากการปฏิบัติที่ควบคุมจากเบื้องบนเป็นการปฏิบัติโดยกลุ่มที่สัมพันธ์และผู้ลงมือเดี่ยว
 
รัฐบาลสหรัฐได้ตอบสนองต่อเหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายนด้วยการเปิดฉาก "[[สงครามต่อต้านการก่อการร้าย]]" ซึ่งได้พยายามที่จะบ่อนทำลายอัลกออิดะฮ์และพันธมิตร การเสียชีวิตของผู้นำคนสำคัญ รวมทั้งอุซามะฮ์ บิน ลาดิน ซึ่งได้นำปฏิบัติการของอัลกออิดะฮ์เพื่อเปลี่ยนจากการจัดระเบียบจากบน-ล่างและวางแผนการโจมตี เพื่อนำไปสู่การวางแผนโจมตีที่ดำเนินดารโดยเครือข่ายที่ดูหละหลวมของกลุ่มที่มีความเกี่ยวข้องและผู้ดำเนินปฏิบัติการอย่างหมาป่าเดียวดาย อัลกออิดะฮ์นั้นมีลักษณะโดยเฉพาะคือการจัดการการโจมตี ซึ่งรวมถึงการโจมตีแบบพลีชีพ และการวางระเบิดหลายเป้าหมายพร้อมกัน<ref>{{Harvnb|Wright|2006|pp=107–108, 185, 270–271}}</ref> อุดมการณ์ของอัลกออิดะฮ์นั้นได้คาดหวังถึงการกำจัดอิทธิพลจากต่างชาติทั้งหมดใน[[โลกมุสลิม|ประเทศมุสลิม]]<ref name="spiegel1" /><ref>{{cite web|title=al Qaida's Ideology|url=https://www.mi5.gov.uk/output/al-qaidas-ideology.html|archive-url=https://web.archive.org/web/20090228214557/http://www.mi5.gov.uk/output/al-qaidas-ideology.html|archive-date=February 28, 2009|access-date=May 19, 2012|publisher=MI5}}</ref><ref>{{cite news|date=August 6, 2011|title=Dreaming of a caliphate|newspaper=The Economist|url=http://www.economist.com/node/21525400|access-date=May 19, 2012}}</ref>
{{วินาศกรรม 11 กันยายน}}
เทคนิคเฉพาะที่อัลกออิดะฮ์ใช้มีการโจมตีพลีชีพและการระเบิดหลายเป้าหมายพร้อมกัน<ref>{{Harvnb|Wright|2006|pp=107–108, 185, 270–271}}</ref> กิจกรรมที่ถือว่ามาจากอัลกออิดะฮ์อาจเกี่ยวข้องกับสมาชิกของขบวนการซึ่งสวามิภักดิ์ต่ออุซามะฮ์ บิน ลาดิน หรือปัจเจกบุคคล "ที่เชื่อมโยงกับอัลกออิดะฮ์" จำนวนมากซึ่งผ่านการฝึกในค่ายแห่งหนึ่งในประเทศอัฟกานิสถาน ปากีสถาน อิรักหรือซูดานซึ่งมิได้สวามิภักดิ์ต่ออุซามะฮ์ บิน ลาดิน<ref>{{Harvnb|Wright|2006|p=270}}.</ref> อุดมการณ์อัลกออิดะฮ์มีการเปลื้องอย่างสมบูรณ์จากอิทธิพลต่างชาติทั้งหมดในประเทศมุสลิม และการสถาปนาเคาะลิฟะฮ์อิสลามใหม่ทั่วโลก<ref name="spiegel1"/><ref>{{cite web|url=https://www.mi5.gov.uk/output/al-qaidas-ideology.html|title=al Qaida's Ideology|publisher=MI5|accessdate=May 19, 2012|archive-date=2009-02-28|archive-url=https://web.archive.org/web/20090228214557/http://www.mi5.gov.uk/output/al-qaidas-ideology.html|url-status=dead}}</ref><ref>{{cite news|url=http://www.economist.com/node/21525400|title=Dreaming of a caliphate|date=August 6, 2011|newspaper=The Economist|accessdate=May 19, 2012}}</ref> ในบรรดาความเชื่อที่เป็นของสมาชิกอัลกออิดะฮ์ คือ การพิพากษาว่าพัทธมิตรคริสต์–ยิวกำลังคบคิดเพื่อทำลายศาสนาอิสลาม<ref>Fu'ad Husayn 'Al-Zarqawi, "The Second Generation of al-Qa'ida, Part Fourteen," ''Al-Quds al-Arabi'', July 13, 2005</ref> เนื่องจากเป็นญิฮัดซะละฟี (Salafist jihadist) พวกเขาเชื่อว่า ฆ่าพลเรือนได้ตามศาสนา และพวกเขาเพิกเฉยต่อบทประพันธ์ศาสนาทุกส่วนซึ่งอาจตีความว่าห้ามฆ่าพลเรือนและการต่อสู้สองฝ่าย (internecine)<ref name="Moghadam"/><ref name=Ranstorp>{{cite book|last=Ranstorp|first=Magnus|title=Unconventional Weapons and International Terrorism|year=2009|publisher=Routledge|isbn=978-0-415-48439-8|page=33}}</ref> อัลกออิดะฮ์ยังคัดค้านสิ่งที่มองว่าเป็นกฎหมายมนุษย์สร้าง และต้องการแทนด้วยกฎหมายชะรีอะห์อย่างเข้มงวด<ref name="LT246">{{cite book|author=Lawrence Wright|title=The Looming Tower: Al-Qaeda and the Road to 9/11|publisher=Knopf|year=2006|page=246|isbn=0-375-41486-X|oclc=}}</ref>
 
อัลกออิดะฮ์ได้มีความเชื่อว่า ความเป็นพันธมิตรของชาวคริสเตียน-ชาวยิวกำลังสมคบคิดที่จะทำลายล้างอิสลาม<ref>Fu'ad Husayn 'Al-Zarqawi, "The Second Generation of al-Qa'ida, Part Fourteen," ''Al-Quds al-Arabi'', July 13, 2005</ref> ในฐานะนักรบญิฮาดิสต์ซาลาฟิสต์ สมาชิกของอัลกออิดะฮ์ได้มีความเชื่อว่า การสังหารผู้ที่ไม่ใช่นักรบจะได้รับบทลงโทษทางศาสนา อัลกออิดะฮ์ยังได้คัดค้านสิ่งที่ถือว่าเป็นกฏหมายที่มนุษย์สร้างขึ้น และต้องการแทนที่ด้วยรูปแบบของ[[กฎหมายชะรีอะฮ์|กฏหมายชะรีอะฮ์]]ที่เข้มงวด<ref name="LT2462">{{harvnb|Wright|2006|p=[https://archive.org/details/loomingtoweralqa00wrig/page/246 246]}}</ref>
อัลกออิดะฮ์ยังรับผิดชอบต่อการปลุกปั่นความรุนแรงระหว่างนิกายในบรรดามุสลิม<ref>Dragons and Tigers: A Geography of South, East, and Southeast Asia&nbsp;– (2011)&nbsp;– Barbara A. Weightman</ref> ผู้นำอัลกออิดะฮ์ถือว่ามุสลิมเสรีนิยม ชีอะฮ์ ซูฟีและนิกายอื่นว่านอกรีตและโจมตีสุเหร่าและการประชุมของกลุ่มเหล่านี้<ref>Security strategy and transatlantic relations (2006) Roland Dannreuther</ref> นับแต่อุซามะฮ์ บิน ลาดินเสียชีวิตในปี 2554 [[อัยมัน อัซเซาะวาฮิรี ]] ชาวอียิปต์ เป็นหัวหน้าองค์การ
 
อัลกออิดะฮ์ได้ดำเนินการโจมตีผู้คนจำนวนมากมายที่ถือว่าเป็นพวก[[กาฟิร]](ผู้ปฏิเสธ)<ref>Jihadi Terrorism and the Radicalisation Challenge: p.219, Rik Coolsaet{{snd}}2011</ref> นอกจากนี้ยังเป็นผู้รับผิดชอบในการยุยงปลุกปั่นก่อให้เกิดความรุนแรงการแบ่งแยกท่ามกลางหมู่ชาวมุสลิม<ref>Dragons and Tigers: A Geography of South, East, and Southeast Asia{{snd}}(2011){{snd}}Barbara A. Weightman</ref> อัลกออิดะฮ์ได้ถือว่าชาวมุสลิมที่มีแนวคิดเสรีนิยม นิกาย[[ชีอะฮ์]] นิกาย[[ลัทธิศูฟี|ศูฟี]] และนิกายอื่น ๆ เป็นพวกนอกรีต และสมาชิกและพวกเห็นพ้องต้องกันได้เข้าโจมตีมัสยิดและการชุมนุมของพวกเขา<ref>Security strategy and transatlantic relations (2006) Roland Dannreuther</ref> ตัวอย่างการโจมตีต่อนิกายอื่น ๆ ได้แก่ การสังหารหมู่อาชูรออ์ ค.ศ. 2004 การวางระเบิดในเมืองซาร์ดซิตี้ ค.ศ. 2006 การวางระเบิดที่กรุงแบกแดก เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2007 และการวางระเบิดที่ชุมชนชาวยาซีดิ ค.ศ. 2007<ref>Jihad and Just War in the War on Terror (2011) Alia Brahimi</ref>
 
ภายหลังการเสียชีวิตของอุซามะฮ์ บิน ลาดินในปี ค.ศ. 2011 กลุ่มนี้อยู่ภายใต้การนำโดยชาวอียิปต์นามว่า [[อัยมัน อัซเซาะวาฮิรี]] และในปี ค.ศ. 2021 ได้มีรายงานว่า ได้ประสบปัญหาจากความเสื่อมโทรมของกองบัญชาการส่วนกลางในการปฏิบัติการระดับภูมิภาค<ref name="Zakaria-10-years-29-4-21">{{cite news|last1=Zakaria|first1=Fareed|date=29 April 2021|title=Opinion: Ten years later, Islamist terrorism isn't the threat it used to be|agency=Washington Post|url=https://www.washingtonpost.com/opinions/global-opinions/ten-years-later-islamist-terrorism-isnt-the-threat-it-used-to-be/2021/04/29/deb88256-a91c-11eb-bca5-048b2759a489_story.html|access-date=4 May 2021}}</ref>
 
== ที่มาของชื่อ ==