ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระกาลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560 ลิงก์แก้ความกำกวม
บรรทัด 1:
{{distinguish|กาลี (ปีศาจ)|มหากาลี}}
{{Infobox deity<!--Wikipedia:WikiProject Hindu mythology-->
| type = ฮินดู
| name = พระแม่กาลี
| image = Kali lithograph.jpg
| deity_of = กาลเทวีแห่งเวลา, การสร้าง, การทำลาย และ พลังอำนาจ
| name = พระแม่กาลี
| abode = [[Cremation ground|เมรุ]] (อาจแตกต่างไปนามการตีความ), [[Manidvipa|มณีทวีป]]
| Devanagari = काली
| consort = [[พระศิวะ]] ([[มหากาลา]])
| Sanskrit_transliteration = [[พระแม่ทุรคา]], [[พระแม่ปารวตี]] และ [[พระมหากาลี]]
| mantra =
| deity_of = กาลเวลา, การสร้าง, การทำลาย และ พลังอำนาจ
| weapon = [[Scimitar|ซีมีตาร์]], [[ดาบ]], [[ตรีศูล]]
| abode =
| image = Kali lithographby Raja Ravi Varma.jpg
| consort = [[พระศิวะ]] ([[มหากาลา]])
| festivals = [[Kali Puja|กาลีบูชา]], [[นวราตรี]]
| mantra = <!--There is no definitive mantra for Kali used by reliable sources - there are many. Discuss on talk page, showing reliable sources, *before* adding your favorite Kali mantra.-->
| caption = ''สังหาระกาลี'' โดย [[Raja Ravi Varma|ราชา รวี วรรมะ]]
| weapon = [[Scimitar]], [[ดาบ]], [[ตรีศูล]]
| affiliation = [[ปารวตี]], [[มหากาลี]], [[มหาวิทยา]], [[เทวี]], [[มหาเทวี]]
| festivals = [[กาลีบูชา]], [[นวราตรี]]
| member_of = ทศเทวี[[มหาวิทยา]]}}
| mount = [[สิงโต]]
| gender = สตรี
|caption = พระศิวะทรงทอดกายมิให้พระแม่กาลีกระทืบเท้า
}}
|affiliation=[[มหากาลี]], [[พระแม่ปารวตี]] , [[มหาวิทยา]], [[นิกายศักติ]]
|member_of=ทศเทวี[[มหาวิทยา]]}}
 
'''กาลี''' ({{IPAc-en|ˈ|k|ɑː|l|iː}}; {{lang-sa|काली}}, {{IAST3|Kālī}}, [[ISO 15919|ISO]]: ''Kālī'') หรือ '''กาลิกา''' ({{lang-sa|कालिका}}, {{IAST|Kālikā}}, [[ISO 15919|ISO]]: ''Kālikā'') เป็น[[เทวี]]ใน[[ศาสนาฮินดู]] ผู้นำของ[[มหาวิทยา]] กลุ่ม[[ตันตระ|ตันตร]]เทวีสิบองค์ซึ่งเป็นปางต่าง ๆ ของ[[ปารวตี|พระแม่ปารวตี]]
[[ไฟล์:Chamunda_Devi_Temple_18.JPG|thumb|รูปปั้นนูนสูงของพระแม่กาลีและพระแม่ทุรคาประดับเทวสถานพระแม่จามุนดา [[ประเทศอินเดีย]]]]
 
ปางดั้งเดิมของพระแม่กาลีคือเป็นผู้ทำลายล้างพลังชั่วร้าย และถือกันว่าพระนางเป็น[[ศักติ]]องค์ที่มีพลังอำนาจมากที่สุด นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในสี่[[Kaula (Hinduism)|กาวลมรรค]] ตามธรรมเนียมตันตระของ[[ลัทธิไศวะ]] ความเชื่อพื้นฐานคือพระนางเป็นผู้ทำลายความชั่วร้ายและปกป้องผู้บริสุทธิ์ ในยุคถัด ๆ มา มีการเคารพบูชาพระแม่กาลีในสถานะต่าง ๆ ทั้งในฐานะเทวีสูงสุด, พระมารดาแห่งเอกภพ, [[อาทิศักติ]] หรือ [[Adi Parashakti|อาทิปรศักติ]]<ref name="Hawley">{{Cite book|last1=Hawley|first1=John Stratton|title=Sri Ramakrishna: The Spiritual Glow|last2=Wulff|first2=Donna Marie|publisher=Motilal Banarsidass|year=1982|pages=152}}</ref><ref name="Harding">{{cite book
'''พระแม่กาลี''' หรือ '''กาลิกา''' ({{lang-hi|काली}}, {{lang-la|Kālī}}, แปลตรงตัวว่า สตรีดำ) เป็นปาง[[อวตาร]]ภาคหนึ่งของ[[พระอุมาเทวี]] ใน[[ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู]] ลักษณะพระวรกายมีกายสีดำสนิท มีพระพักตร์ที่มีลักษณะดุร้าย มี ๑๐ พระกร ถืออาวุธร้าย แลบลิ้นยาวถึงทรวงอก ที่ริมฝีปากมีเลือดไหลหยดเป็นทางยาว เครื่องประดับเป็นหัวกะโหลก มีงูใหญ่ร้อยคาดองค์เป็นสังวาลย์
|last1=Harding
|first1=Elizabeth U.
|title=Kali: The Black Goddess of Dakshineswar
|url=https://books.google.com/books?id=4woiJbQTsBQC
|year=1993
|publisher=Nicolas Hays
|isbn=978-8120814509}}</ref><ref name="McDaniel">{{cite book
|last1=McDaniel
|first1=June
|title=Offering Flowers, Feeding Skulls: Popular Goddess Worship in West Bengal
|year=2004
|publisher=Oxford University Press
}}
</ref> ธรรมเนียม[[ลัทธิศักติ|ศักตะ]]และ[[ตันตระ]]บางธรรมเนียมบูชาพระนางเป็นความจริงสูงสุด ("[[พรหม]]")<ref name="McDaniel"/> นอกจากนี้ยังถือว่าพระนางเป็นเทวดาผู้พิทักษ์บุคคลผู้ที่เข้าสู่[[โมกษะ]] (การหลุดพ้น)<ref name="Hawley" /> รูป้คารพทั่วไปของพระแม่กาลีมักแสดงพระนางกำลังยืนหรือร่ายรำอยู่บนร่างกายของ[[พระศิวะ]] คู่ครองของพระนาง ซึ่งนอนอย่างสงบเสงี่ยมอยู่เบื้องใต้ มีการบูชาพระนางในบรรดาศาสนิกชนของ[[ศาสนาฮินดู]]ทั้งใน[[อินเดีย]], [[เนปาล]]<ref name="McDermott2003"/> และหลายแห่งทั่วโลก
 
== อ้างอิง ==
พระแม่กาลี หรือ เจ้าแม่กาลี ทรงมีอำนาจอิทธิฤทธิ์ในการปราบปรามสิ่งชั่วร้ายทั้งปวง มีเทวานุภาพอันแรงกล้า สร้างความวิบัติแก่เหล่าอสูรอย่างรุนแรง และเด็ดขาด แฝงเร้นไว้ซึ่งความน่ากลัว ผู้บูชาพระแม่กาลีอย่างถูกต้องและเคร่งครัด พระแม่จะประทานความแข็งแกร่ง ความกล้าหาญ และอำนาจเหนือผู้อื่น
 
พระแม่กาลี ตามความเชื่อของไทยนั้นทรงมีพลังอำนาจในการขจัด[[คุณไสย]] ลบล้างไสยเวทย์ด้านมืด หากบุคคลใดถูกกระทำทางไสยศาสตร์ เมื่อผู้นั้นได้สวดบูชาอ้อนวอนต่อพระองค์ท่านแล้ว พระองค์ท่านก็มักให้พรซึ่งขจัดสิ่งอาถรรพ์ชั่วร้ายให้มลายหายไป และประทานสิ่งที่เป็นไปได้ยากให้ได้รับอย่างง่ายดาย ผู้ใดกระทำการสวดบูชา สรรเสริญ และถวายเครื่องสังเวยแด่พระแม่กาลีเป็นประจำ พระองค์ท่านจะประทานความปลอดภัยมาสู่ผู้นั้น ทรงดลบันดาลให้เกิดความสันติผาสุกแก่ผู้ครองเรือนทั่วไป คุ้มครองผู้บูชาจากภยันตรายและอุบัติเหตุร้ายแรง
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Goddess Kali dancing on Shiva. Wellcome L0043631.jpg|thumb|left|ภาพวาดแสดง[[พระศิวะ]]ทรงนอนใต้พระบาทพระแม่กาลี]]
ตำนานกล่าวว่า พระอุมาซึ่งอยู่ใน[[ปางอัมพิกา]] พระสิริโฉมงดงามเสด็จสู่สนามรบ เมื่อเหล่าอสูรได้เห็นก็พยายามจะได้นางเป็นชายา แต่นางได้ต่อสู้กับเหล่าอสูรด้วยความพิโรธ ในปางพระแม่กาลี จนอสูรทั้งหลายตายจนเกือบหมด เหลือเพียง[[มาธูอสูร]] ที่ทรงสังหารอย่างไรก็ไม่ตาย เพราะเคยได้รับพรจาก[[พระศิวะ]]ให้มีชีวิตเป็นอมตะ หากเลือดหยดถึงพื้นดินก็จะเกิดเป็นอสูรอีกมากมายไม่สิ้นสุด<ref>[http://mahathep.exteen.com/20051005/entry พระแม่มหากาลี เทวีแห่งความการุณย์และสันติสุข]</ref> ร้อนถึงพระศิวะ ทรงประทานวิธีให้พระแม่กาลีดื่มเลือดอสูรทุกครั้งอย่าให้ตกถึงดิน มาธูอสูรจึงถึงแก่ความตาย
 
หลังจากชนะอสูรมาธู พระนางทรงดีพระทัย กระโดดเต้นเพื่อฉลองชัยชนะ แต่ด้วยตบะอันแรงกล้าทำให้เกิดความเดือดร้อน ต่อด้วยโลกธาตุทั้งปวงเมื่อพระนางกระทืบพระบาท พระศิวะจะเข้าห้ามปรามก็เกรงความดุร้ายของพระนาง จึงใช้อุบายทรงทอดพระกายลงบนพื้นที่พระนางจะกระทืบพระบาท เมื่อพระกาลีเห็นพระศิวะที่พื้น ด้วยปางหนึ่งที่เป็น[[พระปารวตี]] ซึ่งรักและภักดีในพระศิวะยิ่ง ก็ทรงชะงัก และแลบลิ้นด้วยความขวยเขิน<ref>[http://www.petchprauma.com/modules.php?name=News&file=article&sid=34 เจ้าแม่กาลี อีกด้านหนึ่งของพระอุมาเทวี]</ref>
 
== ความเชื่อ ==
[[ไฟล์:COLLECTIE TROPENMUSEUM Houten beeld van de godin Kalika TMnr 15-174.jpg|thumb|เทวรูปพระแม่กาลี[[ศิลปะบาหลี]]]]
พระแม่กาลีทรงมีพระบุคลิกภาพที่ยากแก่การเข้าใจ มีความลึกลับที่สุดในบรรดาเทพเทวาทั้งปวง พระนางทรงมีความดุดัน เกรี้ยวกราด รูปลักษณ์และอุปนิสัยล้วนเต็มไปด้วยความน่าสะพรึงกลัว แต่กระนั้นพระนางก็จะทำลายเฉพาะอสูร ปีศาจ และมนุษย์ที่กระทำการชั่วร้ายเท่านั้น เนื่องจากพระแม่กาลีก็คือเทพซึ่งปกป้องคุ้มครองผู้กระทำความดีเช่นเดียวกันทุกพระองค์ ฉะนั้น แม้ผู้ที่บูชาพระแม่อย่างเคร่งครัด แต่เป็นคนที่ไม่ดี มีความคิดที่ชั่วร้าย พระแม่ท่านก็จะทำลายบุคคลผู้นั้นเสียเช่นกัน ผู้ที่มีจิตใจไม่มั่นคง กำลังประสบหรือผ่านพ้นจากเหตุการณ์ร้ายแรงทำให้จิตใจอ่อนแอ สามารถกระทำการบูชาพระองค์ เพื่อขอความเข้มแข็ง และเด็ดขาด ผู้ที่เจอคุณไสย และถูกเบียดเบียนจากพลังงานชั่วร้ายหรืออำนาจไม่ดีทั้งจากมนุษย์และอมนุษย์ สามารถขอพระเมตตา จาก พรหมวิหารธรรมของท่าน ขจัดและทำลายให้พินาศสิ้น ผู้ที่ฝันร้าย เจออวมงคล นิมิตอันเป็นเหตุไม่ดี มีประการต่างๆ สามารถกระทำการบูชา ด้วยประทีปสีแดงและดำ ช่วยปัดเป่าให้มลายหายไป ผู้ที่มีโรคร้ายแรง ยากแก่การรักษา สามารถกระทำ ปฏิบัติบูชา อันจะกล่าวภายหลัง เพื่อหาหนทางบรรเทาโรคภัยได้ ผู้ที่ผิดหวังในรัก รักเพศเดียวกัน รักซ้อนรักแทรก สามารถกระทำปฏิบัติบูชาและบูชาเทวรุปประจำองค์ท่านได้เพื่อความสมหวังทั้งปวง นอกจากนั้น ท่านยังเด่นในเรื่อง การให้โชคลาภและยศฐาบันดาศักดิ์ด้วย
 
== การบูชา ==
[[ไฟล์:Tamil nadu, epoca cola, kali, xii sec 01.JPG|thumb|เทวรูปพระแม่กาลีศิลปะ[[ทมิฬนาดู]]]]
พระมหาเทวีท่านโปรดปรานการบูชา ด้วยประทีปหรืออัคนี ([[อารตีไฟ]]) โดยทั่วไปให้ปูเทวรูปด้วยผ้าแดงหรือสีดำ (หรือสามารถใช้ สีเงินหรือสีขาว เพื่อระลึกถึง พรหมวิหารธรรมของพระองค์ได้ด้วย)
 
การบูชาพระแม่กาลี ต้องใช้เลือดบริสุทธิ์ ในอดีตมีการใช้หญิงพรหมจารีย์ไปบูชายัญด้วยเลือดจากลำคอแต่เมื่อ[[บริธิช ราช]]เข้าปกครอง[[อินเดีย]] ทางการได้สั่งห้ามการฆ่าคนเพื่อบูชายัญ ปัจจุบันนี้การบูชาพระแม่กาลีนิยมใช้เลือด[[แพะ]]แทน
 
สำหรับการบูชาโดยทั่วไปนั้น วิธีการบูชาเจ้าแม่กาลีจะต้องถวายน้ำ นม ผลไม้ ดอกไม้ โดยเฉพาะ [[ดอกชบาแดง]] ผู้บูชาที่เคร่งครัดต้องสวดบทบูชาเจ้าแม่กาลีทั้งเช้าเย็นว่า
{{quote|
"โอม ศรี มหากาลิกาไย นะมะห์"
<br>โอม เจมาตากาลี
<br>โอม สตี เยมา ตา กาลี
<br>โอม ศรี มหากาลี มาตา นมัช}}
หรือทำสมาธิถวายปรานแก่องค์พระแม่เพื่อเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระแม่ เชื่อกันว่าเจ้าแม่กาลีที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศไทยประดิษฐานที่[[วัดพระศรีมหาอุมาเทวี]] ผู้ที่ประสบเคราะห์กรรมหรือโดนรังแกนิยมไปไหว้ท่านเพื่อแก้ไขดวงชะตา
 
== ความเข้าใจผิด ==
[[ไฟล์:কালীপুজো নারায়ানতলা ২০১৮.jpg|thumb|เทวรูปพระแม่กาลี]]
จากการที่พระแม่กาลีเป็นปางหนึ่งของพระอุมาเทวีที่ดุร้าย มีรูปลักษณ์คล้ายปีศาจและใช้เลือดและชีวิตในการบูชายัญ จึงมีความเข้าใจผิดกันว่า พระแม่กาลีเป็นเทพเจ้าแห่งความชั่วร้าย ใน[[สำนวนไทย]]จึงมีคำว่า "กาลี" ซึ่งหมายความว่า สิ่งที่ชั่วร้าย เช่น "กาลีบ้านกาลีเมือง" หมายถึง "สิ่งที่ชั่วร้ายต่อบ้านเมือง" เป็นต้น บ้างก็ว่าเจ้าแม่กาลีเป็นเทพเจ้าที่โจรบูชา แต่แท้ที่จริงแล้ว ถ้าคนไม่ดีบูชาเจ้าแม่กาลี ก็จะมีอันเป็นไปในเร็ววัน
 
อนึ่ง ในปกรณัมเทวตำนานฮินดู มีมารตนหนึ่ง ชื่อว่า "กลี" ซึ่งทางฮินดูถือว่าเป็นการจุติของสรรพสิ่งที่เป็น "อธรรม" เทียบได้กับซาตานในศาสนาคริตส์ โดยทุกอวตารของพระวิษณุนั้น ก็เพื่อมาปราบอวตารของมาร "กลี" นั่นเอง
 
การมาอวตารครั้งล่าสุดของพระวิษณุ (หากไม่นับการอวตารเป็นพระโคตมพุทธเจ้า) ซึ่งก็คือ "กฤษณะอวตาร" นั้น เป็นการอวตารมาเพื่อช่วยนำทางเหล่ามนุษย์ฝ่ายธรรม คือ ฝ่ายปาณฑพ ปราบปรามมนุษย์ฝ่ายอธรรม คือ ฝ่ายเการพ ซึ่งนำโดย ทุรโยธน์ ที่เป็นการกลับชาติมาเกิดของมาร "กลี" นั่นเอง
 
ในอวตารสุดท้ายของพระวิษณุ ซึ่งก็คือ "กัลกีอวตาร" จะเกิดขึ้นในช่วงของ "กลียุค" ที่อธรรมนั้นปกครองโลก โดยพระกัลกี ทำศึกเพื่อปราบมาร "กลี" เป็นครั้งสุดท้าย
 
จะสังเกตได้ว่า ชื่อของเทวี "กาลี" และมาร "กลี" นั้นคล้ายคลึงกันมาก สันนิษฐานได้ว่าอาจจะมีการสับสนการใช้คำว่า "กลีบ้าน-กลีเมือง" (จากคำว่ากลียุค) จนเพี้ยนไปเป็น "กาลีบ้าน-กาลีเมือง" ไป
 
อีกทั้งพราหมณ์ในยุคโบราณแต่ก่อน แทบจะประกอบพิธีอยู่แต่ภายในราชสำนัก ยากที่สามัญชนจะเข้าถึง การให้ความรู้ในสมัยก่อนก็อาศัยการบอกเล่า จึงเป็นไปได้ว่า "กาลีเทวี" และ "มารกลี" ได้ถูกผนวกเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน บวกกับรูปลักษณ์ ทำให้เทวีถูกเข้าใจผิดว่าเป็นเทพที่ชั่วร้ายไป
 
==อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{Hindudharma}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Kali|กาลี}}
* [http://www.dmoz.org/Society/Religion_and_Spirituality/Hinduism/Gods_and_Goddesses/Kali/ พระแม่กาลี] จาก [[ดีมอซ]]
 
{{เทวดา}}
{{Hindudharma}}
[[หมวดหมู่:พระปารวตี]]
[[หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู]]