ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dukeadinbera (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ เพิ่มเครื่องอิสริยาภรณ์ไทยไม่มีอ้างอิง
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 37:
พล.อ.ยศ เข้ารับราชการทหารครั้งแรกในยศร้อยตรี เป็นผู้บังคับหมวดทหารราบ กองพันทหารราบที่ 19 จังหวัดนครราชสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2483 และเจริญก้าวหน้าเรื่อยมา เคยดำรงตำแหน่งแม่ทัพภาคที่ 3 และรองผู้บัญชาการทหารบก
 
พล.อ.ยศ ได้รับแต่งตั้งเป็น[[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 3|วุฒิสมาชิก]] ในปี พ.ศ. 2511<ref>[{{Cite web |url=http://www.senate.go.th/inforcenter/documents/list_senate3.pdf |title=รายชื่อสมาชิกวุฒิสภาชุดที่ ๓] |access-date=2020-03-28 |archive-date=2016-03-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160305011527/http://www.senate.go.th/inforcenter/documents/list_senate3.pdf |url-status=dead }}</ref> และเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ใน[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 40|รัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2521/A/082/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (พลเอก เล็ก แนวมาลี พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ พลเรือเอก ถวิล รายนานนท์ พลเอก ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา พลเรือเอก อมร ศิริกายะ)]</ref> และได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในคณะรัฐมนตรีชุดต่อมา (ครม.41)<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/086/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๔ ราย)]</ref>
 
=== ร่วมก่อการกบฎ ===
ในปี พ.ศ. 2528 พล.อ.ยศ เข้าร่วมกับนายทหารนอกประจำการคณะหนึ่ง ประกอบด้วย พันเอก [[มนูญ รูปขจร]] นาวาอากาศโท [[มนัส รูปขจร]] พลเอก [[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] พลเอก [[เสริม ณ นคร]] พลอากาศเอก กระแส อินทรรัตน์ พลตรี ทองเติม พบสุข พันเอก ประจักษ์ สว่างจิต พันเอก สาคร กิจวิริยะ ร่วมด้วยทหารประจำการอีกส่วนหนึ่ง อาทิ เอกรัฐ ษรารุรักษ์ และพลเรือนบางส่วนซึ่งเป็นผู้นำแรงงาน อาทิ สวัสดิ์ ลูกโดด ประทิน ธำรงจ้อย โดยได้ความสนับสนุนทางการเงินจาก [[เอกยุทธ อัญชันบุตร]] พยายามยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ กบฏครั้งนี้มีขึ้นในช่วงที่นายกรัฐมนตรีเดินทางไปราชการที่ประเทศอินโดนีเซีย ส่วนพลเอก อาทิตย์ กำลังเอก ซึ่งดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกในขณะนั้น อยู่ระหว่างปฏิบัติภารกิจในทวีปยุโรป ซึ่งการกระทำการครั้งนั้นถูกเรียกว่า "[[กบฏทหารนอกราชการ]]" หรือ กบฏ 9 กันยา<ref name=นัด>{{cite news|first=ปกรณ์|last=รัตนทรัพย์ศิริ|url=http://news.voicetv.co.th/thailand/49821.html|work=วอยซ์ทีวี|date=September 8, 2012|accessdate=September 9, 2016|title=ปฏิวัติ 9 กันยา นัดแล้วไม่มา|archive-date=2016-10-18|archive-url=https://web.archive.org/web/20161018161406/http://news.voicetv.co.th/thailand/49821.html|url-status=dead}}</ref> หรือ กบฏสองพี่น้อง<ref>{{cite news|first=สำราญ|last=รอดเพชร|url=http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9530000022593|work=ผู้จัดการออนไลน์|date=February 16, 2010|accessdate=September 9, 2016|title=รัฐประหาร 53 ใครจะกล้าทำ}}</ref> เป็นความพยายามรัฐประหารเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==