ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประติมากรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่สร้างโดย 2405:9800:B540:9AAC:744F:19E8:306B:C48 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
'''ประติมากรรม'''เป็นสาขาหนึ่งของ[[วิจิตรศิลป์]]ซึ่งมีรูปแบบ[[สามมิติ]] เป็นหนึ่งในรูปแบบหนึ่งของ[[plastic arts|ศิลปะพลาสติก]] ประจิมากรรมมีรูปแบบสร้างสรรค์แบบธรรมเนียมคือ[[carving|การแกะสลัก]] (นำเอาบางส่วนออก) และโมเดล (เพิ่มชิ้นส่วนเข้า) โดยดั้งเดิมมักใช้สื่อกลางคือ[[ไม้]] [[หิน]] [[เซรามิก]] [[โลหะ]] แต่นับตั้งแต่ยุค[[Modernism|โมเดิร์น]]ก็ไม่มีคำจำกัดความถึงรูปแบบ กรรมวิธี และสื่อกลางของการสร้างสรรค์ประติมากรรม วัฒนธรรมโบราณส่วนมากมักหลงเหลือหลักฐานของประติมากรรมมาถึงปัจจุบัน เช่นเดียวกับ[[ภาชนะ]]<ref name="artmuseums.harvard.edu">[http://www.artmuseums.harvard.edu/exhibitions/sackler/godsInColor.html "Gods in Color: Painted Sculpture of Classical Antiquity" September 2007 to January 2008, The Arthur M. Sackler Museum] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090104060402/http://www.artmuseums.harvard.edu/exhibitions/sackler/godsInColor.html |date=January 4, 2009 }}</ref>
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
==อ้างอิง==
[[ไฟล์:Rodin01.jpg|thumb|''[[ประตูนรก]]'' ประติมากรรมนูนสูงแบบกลุ่มขนาดใหญ่ของ[[โอกุสต์ รอแด็ง|รอแด็ง]] ประติมากรชาวฝรั่งเศส]]
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ประติมากรรม| ]]
[[ไฟล์:Jatu Lokapala Shrine Gaysorn Bangkok.jpg|thumb|[[มูรติ]]หรือประติมากรรมเทพฮินดูแบบลอยตัวของ[[ท้าวจตุโลกบาล]]ที่[[ศาลท้าวจตุโลกบาล เกษรวิลเลจ]]]]
 
'''ประติมากรรม''' ({{lang-en|Sculpture}}) เป็นงานศิลปะแสดงออกด้วยการปั้น แกะสลัก หล่อ และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น ลงบนสื่อต่าง ๆ เช่น ไม้ หิน โลหะ สัมฤทธิ์ ฯลฯ เพื่อให้เกิดรูปทรง 3 มิติ มีความลึกหรือนูนหนา สามารถสื่อถึงสิ่งต่าง ๆ สภาพสังคม วัฒนธรรม รวมถึงจิตใจของมนุษย์โดยชิ้นงาน ผ่านการสร้างของประติมากร ประติมากรรมเป็นแขนงหนึ่งของ[[ทัศนศิลป์]] ผู้ทำงานประติมากรรม มักเรียกว่า [[ประติมากร]]
 
งานประติมากรรมที่เกี่ยวกับศาสนามักสะกดให้แตกต่างออกไปว่า ''ปฏิมากรรม'' ผู้ที่สร้างงานปฏิมากรรม เรียกว่า ''ปฏิมากร''
 
==ประเภทของงานประติมากรรม==
ประเภทของงานประติมากรรม แบ่งเป็น 3 ประเภท
ตามมิติของความลึก ได้แก่
# ประติมากรรมนูนต่ำ ได้แก่ งานประติมากรรมที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับประติมากรรมประเภทนูนสูง แต่จะแบนหรือบางกว่าประติมากรรมประเภทนี้ ไม่ปรากฏมากนักในอดีต ซึ่งมักจะได้แก่ ประติมากรรมที่เป็นลวดลายประดับตกแต่ง เช่น แกะสลักด้วยไม้ หิน ปูนปั้น เป็นต้น
# ประติมากรรมนูนสูง ได้แก่ ประติมากรรมที่ไม่ลอยตัว มีพื้นหลัง ตัวประติมากรรมจะยื่นออกมาจากพื้นหลังค่อนข้างสูง ประติมากรรมที่เป็นลวดลายประดับตกแต่งด้วย เช่น ประติมากรรมปูนปั้นประดับกระจกหน้าบ้าน พระอุโบสถและวิหารต่าง ๆ ตลอดจนถึงการประดับตกแต่งสถาปัตยกรรมในปัจจุบัน เช่น ประติมากรรมที่ปั้นเป็นเรื่องราวหรือเป็นลวดลายประดับตกแต่งอาคาร ตกแต่งฐานอนุสาวรีย์ ตกแต่งสะพาน และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นต้น
#ประติมากรรมลอยตัว ได้แก่ ประติมากรรมที่ปั้น หล่อ หรือแกะสลักขึ้นเป็นรูปร่างลอยตัวมองได้รอบด้าน ไม่มีพื้นหลัง เช่น รูปประติมากรรมที่เป็นอนุสาวรีย์ประติมากรรมรูปเหมือน และพระพุทธรูปลอยตัวสมัยต่าง ๆ ตลอดไปจนถึงประติมากรรมสำหรับประดับตกแต่ง เป็นต้น
 
ประติมากรรมประเภทลอยตัวของไทยที่รู้จักกันดี คือ พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ โดยเฉพาะพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย นับเป็นประติมากรรมลอยตัวที่สมบูรณ์แบบ
 
==ระเบียงภาพ==
<gallery>
ไฟล์:Royal Crematorium Exhibition of King Rama 9 of Thailand Photographed by Trisorn Triboon (28).jpg|thumb|ประติมากรรมครุฑใน[[พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ รัชกาลที่ 9]]
ไฟล์:ไอคอนสยาม Grand Openning day Iconsiam of Thailand 17 Copyrights of Trisorn Triboon.jpg|thumb|ประติมากรรมร่วมสมัยที่จัดแสดงที่[[ไอคอนสยาม]]
</gallery>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายชื่อประติมากร]]
* [[ประติมากรรมไทย]]
 
[[หมวดหมู่:ประติมากรรม]]
[[หมวดหมู่:การแกะสลัก]]